×

ผศ.ดร.พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

‘ยาเสพติด’ ภาพติดตัวของชาวเขา เจาะต้นกำเนิดมายาคติของรัฐไทย
19 พฤศจิกายน 2020

‘ยาเสพติด’ ภาพติดตัวของชาวเขา เจาะต้นกำเนิดมายาคติของรัฐไทย

ไม่เกินคาดคิดสักเท่าไรที่ศาลแพ่งจะยกฟ้องคดีวิสามัญ ชัยภูมิ ป่าแส เยาวชนชาวลาหู่ (มูเซอ) ผู้ถูกกล่าวหาในคดียาเสพติด ส่งผลทำให้กองทัพบกภาคที่ 3 นั้นพ้นผิด ซึ่งเมื่อผลออกมาเป็นเช่นนี้ แน่นอน ฝ่ายครอบครัวของชัยภูมิและทีมทนายได้เตรียมยื่นอุทธรณ์ต่อไป แต่มันก็อดสงสัยไม่ได้ถึงกระบวนการและหลักฐานที่นำไปสู่คำตัดสินดังกล่าว เช่น การที่ทหารกั้นไม่ให้มีการตรวจ...
6 พฤศจิกายน 2020

เซ็กซ์ สงครามเย็น และวัฒนธรรมบันเทิงที่พัฒน์พงศ์มิวเซียม พิพิธภัณฑ์ที่มีโซน 18+

ขอเปลี่ยนบรรยากาศกันบ้าง ไปคุยเรื่องเซ็กซ์และมิวเซียมกัน วันก่อนผมมีโอกาสได้ไปเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์แห่งหนึ่งนั่นคือ Patpong Museum (ขอเขียนว่า พัฒน์พงศ์มิวเซียม แล้วกัน) อาจเรียกได้ว่าเป็นพิพิธภัณฑ์ที่ฮอตมากตั้งแต่เปิดตัวเมื่อปีที่แล้ว เพราะคอนเทนต์ใหม่และแรง ไม่เหมือนกับพิพิธภัณฑ์แห่งอื่นๆ ในไทย (อาจเพราะอยู่นอกระบบราชการ) ตอนแรกๆ ก่อนผมจะไปดู ผมก็คิ...
ไม้เรียวสร้างคน? ทำไมครูต้องลงโทษเด็ก มองผ่านประวัติศาสตร์ของยุโรปยุคกลาง
9 ตุลาคม 2020

ไม้เรียวสร้างคน? ทำไมครูต้องลงโทษเด็ก มองผ่านประวัติศาสตร์ของยุโรปยุคกลาง

เวลาที่ครูตีเด็กทีไรก็มักจะอ้างเสมอว่า อยากให้เด็กเป็นคนดี หรือไม่ก็ต้องการให้เขาเป็นคนมีวินัย คำพูดแบบนี้คงใช้ได้เฉพาะคนรุ่นเก่า แต่สำหรับเด็กรุ่นใหม่นั้นเขาไม่ได้คิดแบบนี้แน่นอน เพราะการลงโทษทางกายนั้นสามารถก่อให้เกิดผลทางลบมากกว่าทางบวก แต่ความคิดเชิงศีลธรรมแบบนี้ไม่ได้ปรากฏเฉพาะในสังคมไทยเท่านั้น แต่พบได้ทั่วโลก แสดงว่ามันจะต้องมีความคิดร่วมกัน...
คำด่า คำหยาบ พูดไม่เพราะ คำด่าไทย
3 ตุลาคม 2020

แจกของลับ ตอกกลับด้วยความหยาบคาย เจาะลึกฟังก์ชันของคำด่าที่ทั้งสะท้อนชนชั้นและสร้างความเสมอภาคให้สังคม

เคยสงสัยไหมครับว่าทำไมอวัยวะเพศที่บางคนหรือบางวัฒนธรรม (เช่น ศิวลึงค์ ปลัดขิก โยนี) ได้รับการบูชา แต่ทว่าเมื่อถูกใช้ต่างบริบท บางกรณีมันกลับกลายเป็นคำด่า และบางกรณีมันกลับกลายเป็นคำที่สร้างมิตรภาพ หรือทำให้รู้สึกสนิทกันมากขึ้น ที่เห็นและได้ยินกันบ่อยๆ เช่น ถ้าเด็กสักคนพูดกับผู้ใหญ่ด้วยคำว่า ‘ค-ว-ย’ ก็จะกลายเป็นคำด่า มองว่าไม่สุภาพ เป็นเด็กก้าวร้าว ...
21 กันยายน 2020

‘สนามหลวง’ ไม่ใช่โบราณสถานที่ตายแล้ว แต่มีหลายสถานะ และยังมีหน้าที่ทางสังคม

ข้ออ้างเรื่องการบุกรุกโบราณสถาน มักถูกใช้เสมอเมื่อมีการชุมนุมทางการเมือง ทั้งนี้ก็เพื่อกันไม่ให้คนเข้าไปใช้พื้นที่ หรือใช้เพิ่มกระทงความผิดทางกฎหมายกับผู้ชุมนุม ซึ่งไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหาทางการเมืองที่ควรทำ เพราะไม่ได้ช่วยทำให้อะไรดีขึ้น แต่เรื่องนี้ก็เป็นเรื่องที่น่าถกเถียงกันถึงสถานะของความเป็นโบราณสถาน   หลายคนคงได้ยินว่า เมื่อวันที่ 1...
ไอ้ไข่ เด็กวัดเจดีย์ รูปปั้นไอ้ไข้ ปิดทอง
31 สิงหาคม 2020

‘ไอ้ไข่’ ลัทธิแห่งความหวัง และความร่ำรวย ของสังคมที่เต็มไปด้วยปัญหา

บทความนี้ไม่ได้มาใบ้เลขเด็ด แต่ต้องการชวนมองปรากฏการณ์ ‘ไอ้ไข่’ ว่าสะท้อนสังคมไทยได้อย่างไรบ้าง    ผู้คนหลายสิบคนในชุดขาววิ่งกรูไปยังรถยนต์ของพระรูปหนึ่ง เมื่อไปถึงหน้ารถ ชาวบ้านทุกคนต่างหยิบมือถือขึ้นมาเพื่อถ่ายรูปทะเบียนรถ นักข่าวย้ำว่าอีกวันสองวันนี้หวยจะออกแล้ว ภาพข่าวแช่ทะเบียนรถอยู่นาน นานพอที่จะให้คนจดจำได้ แล้วก็เล่าถึงเรื่อ...
โมเดล อนุเสาวรีย์ นิทรรศการที่มีชื่อว่า ‘ล่องรอยราชดำเนิน: นิทรรศการผสานวัย’ ที่มิวเซียมสยาม
26 สิงหาคม 2020

‘สรรพเสียง’ ของประชาชน ในนิทรรศการล่องรอยราชดำเนินฯ นิทรรศการที่ทำให้คนตัวเล็กมีตัวตนในประวัติศาสตร์

เสียงของประชาชนนั้นมักจะหายไปในประวัติศาสตร์บ้าง เพราะมันไม่ถูกให้ความสำคัญ แต่หลักๆ แล้วก็เป็นเพราะความเข้าใจต่อประวัติศาสตร์ของเรานั้นมันถูกฟอร์แมตมาว่าจะต้องเป็นเรื่องสำคัญต่อชาติ และเป็นเรื่องของวีรบุรุษหรือทรราชเท่านั้น    เกือบสองสัปดาห์ที่แล้ว ผมได้มีโอกาสไปเดินชมนิทรรศการที่มีชื่อว่า ‘ล่องรอยราชดำเนิน: นิทรรศการผสานวัย’ ที่ม...
17 สิงหาคม 2020

การหายไปของหมุดคณะราษฎร กับข้อถกเถียงว่านิยามของโบราณวัตถุคืออะไร

น้องคนหนึ่งที่เรียนจบโบราณคดีไปร่วมชุมนุมที่ราชดำเนินเมื่อวันที่ 16 สิงหาคมที่ผ่านมา ได้ชูป้ายหนึ่งที่เขียนว่า ‘โบราณคดี = สมบัติทุกคน ไม่ใช่เรื่องเฉพาะส่วนตน! หยุดลบประวัติศาสตร์ฝั่งเห็นต่าง หยุดบิดเบือนประวัติศาสตร์ หมุดคณะราษฎรหายอยากได้คืน’ เมื่อเห็นป้ายนี้ผมแทบจะปรบมือให้ เพราะช่างแหวกขนบของคนที่เรียนสายนี้เสียจริง   ย้อนกลับไปวันสง...
2 กรกฎาคม 2020

ผีวาทกรรมประวัติศาสตร์ ผีที่แฝงกายในรายการช่องส่องผี

ประเด็นร้อนที่ผู้คนในโลกออนไลน์กำลังถกเถียงเรื่องรายการ ‘ช่องส่องผี’ ทำให้ผมนึกถึงเรื่องหนึ่งคือ งานเขียนประวัติศาสตร์ของแม่ชีวรมัย กบิลสิงห์ เรื่อง ใครฆ่าพระเจ้าตากสิน ที่ตีพิมพ์เมื่อปี 2516 ในหนังสือเท่าที่ผมจำได้ แม่ชีวรมัยได้ยึดถือเอาพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา และพงศาวดารอื่นอีกบางเล่มเพื่อใช้เขียน แต่ที่ไม่เหมือนใครคือ แม่ชีได้ใช้วิธีการนั่งทา...
20 มิถุนายน 2020

ความลับของบ้านเขียวเมืองแพร่ บ้านที่เก็บความรู้ภูมิอากาศโบราณของไทย แต่กลับถูกรื้อ

การรื้อ ‘บ้านเขียว’ หรือ อาคารสำนักงานของบริษัทบอมเบย์ เบอร์มา เป็นการกระทำที่ไม่น่าให้อภัยเป็นอย่างยิ่ง ควรต้องถูกดำเนินคดีทางกฎหมายอย่างจริงจัง จะมาอ้างการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ไม่ได้ ในช่วงหลายวันมานี้มีคนชี้ให้เห็นถึงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของบ้านไม้หลังนี้มามากแล้วว่าเป็นหมุดหมายที่บ่งบอกถึงอุตสาหกรรมป่าไม้ของเมืองแพร่ และยังมีคุณค่าด้านสถาปัตยกรรม...


X