×

Key Messages

พิธา ลิ้มเจริญรัตน์
12 มิถุนายน 2023

เลือกตั้ง 2566 : ปลุกผี-สกัดตั้งรัฐบาล เปิดข้อสังเกตจากเลขาธิการพรรคก้าวไกลปมหุ้น ITV ของ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์

10 พฤษภาคม คือหมุดหมายแรกที่ เรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกพรรคพลังประชารัฐ เดินทางไปยื่นเรื่องให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. ตรวจสอบกรณีการถือครองหุ้น ITV ซึ่งนับเป็นหุ้นสื่อของ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกรัฐมนตรี หัวหน้าพรรค และว่าที่ ส.ส.​ บัญชีรายชื่อพรรคก้าวไกล   จากวันนั้นปมปัญหาเรื่องการถือหุ้นสื่อก็กลายเป็นประเด็นข่าวรายวัน...
ไฟป่า แคนาดา
9 มิถุนายน 2023

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกเกี่ยวโยงกับ ‘วิกฤตไฟป่าในแคนาดา’ อย่างไร

ตลอดช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมาแคนาดาเผชิญหน้ากับปัญหาไฟป่ามาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสัปดาห์นี้ที่วิกฤตไฟป่าในแคนาดารุนแรงขึ้นอย่างมาก ส่งผลให้ทางการแคนาดาเร่งอพยพประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยบางส่วนแล้ว ก่อนที่กลุ่มควันจากไฟป่าจะเคลื่อนตัวข้ามพรมแดนประเทศเข้าสู่สหรัฐอเมริกา เปลี่ยนท้องฟ้าในหลายเมืองให้กลายเป็นสีส้ม กระทบต่อชีวิตของผู้ค...
หมอ ลาออก
7 มิถุนายน 2023

Work ไร้ Balance หมอลาออก ขาดแคลนแพทย์ ปัญหาที่ต้องแก้ให้ถูกจุด

การประกาศลาออกจากราชการกระทรวงสาธารณสุขของ ปุยเมฆ-พญ.นภสร วีระยุทธวิไล นักแสดง และแพทย์พี่เลี้ยงออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลราชบุรี เป็นชนวนครั้งสำคัญที่ทำให้การทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในระบบสาธารณสุขเป็นที่สนใจของสังคมอีกครั้ง    พญ.นภสรได้โพสต์ระบายสาเหตุที่ลาออกจากราชการบนทวิตเตอร์ส่วนตัวที่มีผู้ติดตามกว่า 7 แสนบัญชีว่า ไม่สามารถทนก...
พิธา หุ้น ITV
7 มิถุนายน 2023

เลือกตั้ง 2566 : หุ้น ITV ปมเงื่อนที่ผูกรั้งอนาคตของพิธา

กรณีการถือหุ้น ITV ของ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกล และแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรค กลับมาเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์อีกครั้ง หลัง เรืองไกร ลีกิจวัฒนะ สมาชิกพรรคพลังประชารัฐ ออกมาเปิดเผยว่า พิธาได้ขายหุ้น ITV ไปแล้ว   เมื่อกระแสกดดันจากที่เคยเลี่ยงตอบคำถามในเรื่องนี้มาตลอด พิธาโพสต์เฟซบุ๊กตอบโต้ในเรื่องนี้ พร้อมคำอธิบายว่า โอนให้ทายาท...
7 มิถุนายน 2023

เรารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับเหตุเขื่อนยูเครนระเบิด น่ากังวลแค่ไหน ใครอยู่เบื้องหลัง

วานนี้ (6 มิถุนายน) เกิดเหตุระทึกขึ้นอีกครั้งในยูเครน เมื่อเขื่อนโนวา คาคอฟคา (Nova Kakhovka) เขื่อนขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในแคว้นเคอร์ซอนเกิดระเบิดขึ้น ทำให้มวลน้ำมหาศาลไหลทะลักทลายแนวกั้นน้ำ และเข้าท่วมบ้านเรือนของประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้กับแม่น้ำดนิโปร ขณะที่ตัวเลขผู้ที่ได้รับผลกระทบตอนนี้สูงถึง 42,000 คนด้วยกัน   เจ้าหน้าที่องค์การส...
ป่าแอมะซอน
6 มิถุนายน 2023

ส่องแผนเซฟป่าแอมะซอน หลังบราซิลตั้งเป้ายุติการตัดไม้ทำลายป่าภายในปี 2030

รัฐบาลบราซิลภายใต้การนำของประธานาธิบดีลูอิส อินาซิโอ ลูลา ดา ซิลวา ได้ประกาศเป้าหมายสำคัญที่จะยุติปัญหาการตัดไม้ทำลายป่าภายในปี 2030 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนงานที่จะช่วยปกป้องสิ่งแวดล้อมโลก โดยเฉพาะผืนป่าขนาดใหญ่ในบราซิลอย่างป่าแอมะซอน   ลูลาและ มารินา ซิลวา รัฐมนตรีด้านสิ่งแวดล้อมบราซิล ได้เผยถึงแผนปฏิบัติงานว่าด้วยการป้องกันและควบคุมการ...
2 มิถุนายน 2023

ชมคลิป: สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทำอย่างไร เปลี่ยนทะเลทรายให้ปลูกผักได้ใน 40 วัน

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีขนาดพอๆ กับประเทศโปรตุเกส แต่พื้นที่ทั้งหมดเป็นทะเลทรายไปแล้ว 80% ไม่มีแม่น้ำ ไม่มีทะเลสาบ และมีฝนตกเฉลี่ยไม่กี่วันต่อปี การจะปลูกพืชให้ถึงขั้นออกดอกออกผลได้ในประเทศนี้จึงแทบเป็นไปไม่ได้เลย    แต่พวกเขากลับใช้เวลาแค่ 40 วัน พลิกผืนทรายที่แห้งแล้งให้เต็มไปด้วยแตงโม ซูกินี และข้าวฟ่างไข่มุกพร้อมรับประทาน &nb...
ปฏิรูปตำรวจ
1 มิถุนายน 2023

เลือกตั้ง 2566 : ทำไมรัฐบาลชุดใหม่ต้องปฏิรูปวงการตำรวจ หลังปมร้อน ‘ส่วยสติกเกอร์’

หลังจาก วิโรจน์ ลักขณาอดิศร แกนนำพรรคก้าวไกล และว่าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบบัญชีรายชื่อ รวมทั้งสมาคมขนส่งทางบก ออกมาเปิดโปงการหากินผ่านสัญลักษณ์ ‘ส่วยสติกเกอร์’ ของเจ้าหน้าที่รัฐ ขณะที่ในเวลาต่อมาทาง พล.ต.อ. ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) ได้สั่งการให้ตรวจสอบเรื่องนี้ในทันที แต่การดำเนินการก็ยังไม่ได้คลายความกั...
AI
1 มิถุนายน 2023

ผู้เชี่ยวชาญเตือน ‘AI เสี่ยงทำให้มนุษย์สูญพันธุ์’ เรื่องจริงหรือแค่ตื่นตูม?

ไม่กี่วันที่ผ่านมาปรากฏข่าวที่สร้างความพรั่นพรึงในวงการเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์หรือ AI หลังคณะผู้เชี่ยวชาญหลายสิบคน ซึ่งรวมถึงผู้บริหารบริษัทพัฒนา AI แถวหน้าอย่าง OpenAI (ผู้พัฒนา ChatGPT) และ Google Deepmind ออกแถลงการณ์บนหน้าเว็บไซต์ ศูนย์ความปลอดภัย AI (Centre for AI Safety) โดยระบุว่า   “การลดความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์จาก AI ควรเป็นวาระ...
มอสโก
31 พฤษภาคม 2023

เรารู้อะไรบ้างในเหตุโดรนโจมตีกลางกรุงมอสโก ฝีมือยูเครนจริงหรือไม่

นับตั้งแต่เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2022 หรือตลอดระยะเวลากว่า 1 ปีที่สงครามระหว่างรัสเซียและยูเครนเปิดฉากขึ้น ภาพที่โลกได้เห็นมักเป็นความสูญเสียและความเสียหายของฝั่งยูเครน ไม่ว่าจะเป็นอาคารที่พังถล่ม เศษแก้วกระจัดกระจาย มิสไซล์ที่ปักลงกับพื้น รวมถึงเลือดผู้เสียชีวิตที่หลั่งนองไปทั่วพื้นถนน   แต่เมื่อช่วงเช้าวันอังคารที่ผ่านมา (30 พฤษภาคม...


Close Advertising