×

หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บัตรทอง)

ตัดงบบัตรทอง
24 เมษายน 2020

สุดารัตน์ค้านตัดงบบัตรทอง 2.4 พันล้าน ขอรัฐทบทวนใหม่ มีงบไม่จำเป็นอย่างอื่นที่ควรตัดมากกว่า

วันนี้ (24 เมษายน) คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ ประธานยุทธศาสตร์พรรคเพื่อไทย แสดงความคิดเห็นต่อกรณีการตัดงบบัตรทองและงบกระทรวงสาธารณสุข เพื่อนำไปใช้จ่ายเป็นงบสำรองฉุกเฉินในการแก้ปัญหาโควิด-19 ว่า เธอขอค้านการตัดงบบัตรทอง 2,400 ล้านบาท และตัดงบกระทรวงสาธารณสุขอีก 1,200 ล้านบาท เพื่อนำไปตั้งเป็นงบสำรองฉุกเฉินนำมาใช้จ่ายแก้ปัญหาโควิด-19   ...
23 เมษายน 2020

สธ. เผย นำงบบัตรทองบรรจุข้าราชการ 4.5 หมื่นตำแหน่งเพื่อต่อสู้กับโควิด-19

วันนี้ (23 เมษายน) นพ.สุขุม กาญจนพิมาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ว่า ตาม พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มาตรา 46 (2) ครอบคลุมถึงค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในส่วนเงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร รัฐบาลได้นำงบค่าใช้จ่ายรายหัวส่วนนี้มาใช้เป็นเงินเดือนค่าตอบแทนของข้าราชการบรรจุใหม่ 45,684 ตำแหน่ง เพื่อรับมือสถานการณ์โควิด-19 นั้นช่วยสร้างขวัญกำลังใจให้...
3 เมษายน 2020

ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศ สปสช. ให้โรคโควิด-19 ใช้สิทธิบัตรทองรักษาได้ เริ่มวันนี้

วันนี้ (3 เมษายน) ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบับที่ 18) เนื้อหาสำคัญระบุให้โรคโควิด-19 อยู่ในประเภทหรือขอบข่ายการบริการสาธารณสุขที่ผู้มีสิทธิได้รับ ตาม พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ทำให้ผู้ที่ป่วยด้วยโรคโควิด-19 สามารถใช้สิทธิบัตรทองได้ทันทีตั้งแต่วันที่ประก...
7 มกราคม 2020

งบบัตรทอง 2564 ทะลุ 2 แสนล้านบาท กับบริการใหม่ที่น่าสนใจ

ที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2563 มีมติอนุมัติงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (กองทุนบัตรทอง) ปี 2564 จำนวน 202,704.07 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 12,388.06 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.5    THE STANDARD รวบรวมข้อมูลงบ ‘กองทุนบัตรทอง 2564’ และบริการใหม่ที่น่าสนใจในกองทุนที่เพิ่มขึ้นในปีนี้   ...
บัตรทอง
7 มกราคม 2020

สปสช. เคาะงบบัตรทอง 2 แสนล้าน เพิ่มขึ้น 1.2 หมื่นล้าน ให้สิทธิรักษาพยาบาลเพิ่มเติม

เมื่อวานนี้ (6 มกราคม 2563) ช่วงเย็น ที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในฐานะประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พร้อมด้วย สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี และคณะผู้บริหาร เข้าร่วมประชุมขอความเห็นชอบร่างข้อเสนองบประมาณกองทุนหลักประกันสุข...
บัตรทอง
17 สิงหาคม 2019

รัฐบาลยืนยัน ไม่ตัดลดงบบัตรทอง แต่เพิ่มสิทธิประโยชน์ในการรักษาและบริการ

ศาสตราจารย์นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ยืนยัน ครม. อนุมัติงบกองทุนบัตรทองปี 63 กว่า 1.91 แสนล้านบาท เพิ่มเม็ดเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจากปี 62 กว่า 6.5 พันล้านบาท เป็นงบเหมาจ่ายรายหัว 3,600 บาท/ประชากร เพิ่มสิทธิประโยชน์ปี 63 เพิ่มสิทธิประโยชน์ในการเข้าถึงการรักษาและบริการสาธารณสุขอย่างครอบคลุมและมีคุณภาพและมาตรฐาน ทั้งยั...
11 กันยายน 2018

สปสช. เปิดข้อมูลระบบบัตรทอง 3 ปี สารเคมีกำจัดศัตรูพืช พ่นพิษคนไทยตาย 1,715 ราย

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ สปสช. โดย นพ.ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา เลขาธิการ สปสช. ได้ออกมาเปิดเผยข้อมูลว่าระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พบตัวเลขผู้เสียชีวิตจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในช่วง 3 ปีสูงถึง 1,715 ราย ขณะที่จำนวนผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเฉลี่ย 5,000 รายต่อปี เบิกจ่ายค่ารักษากว่า 22 ล้านบาทต่อปี ซึ่งตัวเลขดังกล่าวเป็นเพียงข้อมูลเฉพาะกลุ่มผู้...
9 มกราคม 2018

เรื่องร้อนปี ‘61 จับตาแก้ พ.ร.บ.บัตรทอง เมื่อหมอกับภาคประชาชน เห็นไม่ตรงกัน

ประเด็นสาธารณสุขฮอตฮิตในช่วงปี 2560 ที่ผ่านมา หากไม่พูดถึงการแก้กฎหมายบัตรทอง หรือพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 คงไม่ได้ เพราะเป็นกระแสร้อนแรงในแวดวงสาธารณสุขที่มีข้อโต้แย้ง คัดค้านและยังไม่ได้ข้อยุติ   แม้สถานการณ์ล่าสุดร่างพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ หรือที่เรียกกันง่ายๆ ว่า กฎหมายบัตรทอง จ่อรอเข้าสู่การพิจ...
19 ธันวาคม 2017

10 ปีการจากไปของ หมอสงวน ฮีโร่บัตรทอง เปลี่ยนคนไข้อนาถาให้ได้สิทธิ์ถ้วนหน้า

‘คนไข้อนาถา’ บางคนอาจคุ้นๆ บางคนอาจไม่เคยได้ยินคำนี้ แต่นี่คือระบบช่วยเหลือคนยากจนในเรื่องการรักษาพยาบาลในอดีต   นพ.สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ เขียนเล่าพัฒนาการของระบบพัฒนาการรักษาพยาบาลไว้ในหนังสือ งานกับอุดมคติของชีวิต ว่า คนจนเมื่อต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล ก่อนออกจากโรงพยาบาลต้องไปพบนักสังคมสงเคราะห์ หรือขอให้ผู้อำนวยการโรงพยาบาลยกเว้...
13 ธันวาคม 2017

ประเทศไทย 2017 คือปีแห่งสังคม (รอ) สงเคราะห์?

‘จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน’ บทความอมตะของป๋วย อี๊งภากรณ์ เผยแพร่เมื่อปี 2516 อธิบายแนวความคิดเกี่ยวกับความต้องการโดยทั่วไปของประชาชนทุกคนที่ต้องการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์มารดา ได้รับความรักจากพ่อแม่ ได้รับการศึกษา ได้รับการบริการและสวัสดิการต่างๆ จากรัฐบาลและสังคมอย่างมีคุณภาพ จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต ...

Close Advertising