×

นักวิทยาศาสตร์

6 กรกฎาคม 2020

นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกส่งจดหมายเปิดผนึก เตือน WHO ปรับข้อแนะนำโควิด-19 หลังพบหลักฐานบ่งชี้ไวรัสแพร่กระจายทางอากาศได้

หนังสือพิมพ์ The New York Times รายงานว่า นักวิทยาศาสตร์ 239 คน จาก 32 ประเทศ ร่วมส่งจดหมายเปิดผนึกถึงองค์การอนามัยโลก (WHO) ขอให้ปรับแก้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่เป็นต้นเหตุของโรคโควิด-19 หลังพบหลักฐานว่าอนุภาคขนาดเล็กของไวรัสที่ลอยในอากาศสามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อในมนุษย์ได้ โดยที่ผ่านมา WHO ระบุว่า โรคโควิด...
28 พฤษภาคม 2020

ชมคลิป: โควิด-19 มาจากไหน เปิด 3 ความเป็นไปได้จากมุมนักวิทยาศาสตร์

ข้อถกเถียงระหว่างสหรัฐฯ-จีน เกี่ยวกับต้นตอการระบาดของโรคโควิด-19 ที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐฯ ชี้ว่า หลุดมาจากห้องแล็บของสถาบันไวรัสวิทยาอู่ฮั่น แท้จริงแล้วไวรัสโคโรนา 2019 มาจากไหนกันแน่ กับ 3 ความเป็นไปได้จากผลวิจัยทางวิทยาศาสตร์...
20 พฤษภาคม 2020

ผลวัคซีนโควิด-19 เข็มแรกของโลกที่ทดลองในมนุษย์ออกมาแล้ว แต่มันคือความหวังหรือเรายังต้องรอต่อไป

บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพโมเดอร์นา เทอราพิวติกส์ (Moderna Therapeutics) และสถาบันสุขภาพแห่งชาติสหรัฐฯ (NIH) ได้เริ่มการทดสอบวัคซีนป้องกันโรคทางเดินหายใจโควิด-19 ในมนุษย์ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลกที่ศูนย์วิจัยแห่งหนึ่งในนครซีแอตเทิล เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2020 ในชื่อวัคซีนที่เรียกว่า mRNA-1733    ล่าสุดเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา ตามเวลาสหรัฐฯ รา...
20 พฤษภาคม 2020

นักวิทยาศาสตร์เสนอล็อกดาวน์เข้ม 50 วัน สลับผ่อนคลาย 30 วัน ช่วยชะลอโควิดและคุ้มครองเศรษฐกิจ

ทีมนักวิทยาศาสตร์จาก 9 ประเทศที่ศึกษาเรื่องมาตรการล็อกดาวน์ภายใต้การสนับสนุนจากสหภาพยุโรป (EU) เผยแพร่งานวิจัยยุทธศาสตร์มาตรการล็อกดาวน์ใหม่ที่เชื่อว่ามีประสิทธิภาพในการควบคุมการระบาดของโควิด-19 อีกทั้งช่วยลดผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจ โดยเสนอให้ใช้มาตรการที่เข้มงวดเป็นเวลา 50 วัน สลับกับผ่อนคลายมาตรการอีก 30 วัน เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตและประคับประคอง...
28 เมษายน 2020

นักวิทยาศาสตร์นิวยอร์กเริ่มวิเคราะห์ข้อมูลพันธุกรรมโควิด-19 หวังแกะรอยต้นตอการระบาดในอนาคต

ทีมนักวิทยาศาสตร์ของกรมอนามัยนครนิวยอร์ก เริ่มต้นวิเคราะห์ข้อมูลทางพันธุกรรมหรือจีโนมของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (2019-nCoV) ที่เป็นต้นเหตุของโรคโควิด-19 แล้ว โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแกะรอยต้นตอการระบาดใหม่ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต หลังทางการนิวยอร์กวางแผนที่จะเปิดเมืองอีกครั้งช่วงกลางเดือนพฤษภาคม การวิเคราะห์ข้อมูลพันธุกรรมไวรัสโคโรนา 2019 ด...
5 กุมภาพันธ์ 2020

นักวิทยาศาสตร์ใกล้เผยชื่อทางการของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019

จนถึงตอนนี้คงไม่มีใครไม่รู้จักเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ที่กำลังระบาดหนักในจีนและหลายประเทศทั่วโลก แต่ใครจะรู้บ้างว่าชื่อเรียกของไวรัสโคโรนาที่กำลังเป็นที่พูดถึง แท้จริงแล้วไม่ใช่ชื่อเรียกที่แท้จริงของเชื้อไวรัสชนิดนี้ เนื่องจากไวรัสโคโรนานั้นเป็นชื่อของกลุ่มไวรัสที่เป็นตระกูลหลักของไวรัสชนิดนี้ ซึ่งมีที่มาจากรูปร่างของมันที่ดูคล้ายกับ Cro...
29 มกราคม 2020

นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกเร่งพัฒนาวัคซีนสู้ไวรัสโคโรนา ขณะที่ยอดผู้ป่วยที่หายจากโรคปอดอักเสบในจีนทะลุร้อยราย

ถึงแม้สถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ที่พบผู้ติดเชื้อในจีนแล้วเกือบ 6,000 รายในขณะนี้จะยังน่าวิตก แต่ความหวังในการรักษาโรคปอดอักเสบอู่ฮั่นให้หายเป็นปกติมีเพิ่มขึ้น โดยทางการจีนเปิดเผยว่าจำนวนผู้ป่วยที่รักษาหายและออกจากโรงพยาบาลแล้วมีเพิ่มขึ้นมากกว่า 100 รายแล้ว (ตัวเลขผู้เสียชีวิตอยู่ที่ 132 ราย) ขณะที่นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกกำลังเร่งพัฒ...
6 พฤศจิกายน 2019

นักวิทยาศาสตร์นับหมื่นคนทั่วโลก ร่วมลงนามประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกกว่า 11,000 คน ประสานเสียงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พร้อมเตือนว่าหากไม่ลงมือแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน อาจส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อมนุษย์ในแบบที่ประมาณไม่ได้    ในรายงานที่ตีพิมพ์ในวารสาร Bioscience นักวิจัยได้ใช้ตัวชี้วัดที่แสดงให้เห็นถึงผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ที่มีต่อสภาพอากาศ ไม่ว่...
ปลาแซลมอนในอะแลสกาตายเกลื่อน
19 สิงหาคม 2019

นักวิทยาศาสตร์เตือน อุณหภูมิแม่น้ำที่สูงขึ้นอาจเป็นเหตุให้ปลาแซลมอนในอะแลสกาตายเกลื่อน

สเตฟานี ควินน์-เดวิดสัน ประธานคณะกรรมการ Yukon River Inter-Tribal Fish ให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าว CNN ว่าเธอนำกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ลงพื้นที่บริเวณแม่น้ำโคโยคุกในอะแลสกาช่วงสิ้นเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา และพบปลาแซลมอนลอยตายเกลื่อนเป็นระยะทาง 200 ไมล์ รวม 850 ตัว แต่เธอคาดว่าจำนวนปลาที่ตายอาจจะมีมากกว่านี้ 4-10 เท่า ในแม่น้ำที่มีความยาวกว่า 500 ไมล์  ...
11 เมษายน 2019

นักวิทย์ค้นพบมนุษย์สปีชีส์ใหม่ในฟิลิปปินส์ พร้อมขนานนาม ‘Homo luzonensis’

ช่วงเวลานี้ถือเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ของแวดวงวิทยาศาสตร์โลก นอกจากมวลมนุษยชาติจะได้เห็นภาพหลุมดำเป็นครั้งแรกในโลกแล้ว ทีมนักวิทยาศาสตร์และนักโบราณคดียังเปิดเผยว่า ได้มีการค้นพบมนุษย์สปีชีส์ใหม่บริเวณ Callao Cave ทางตอนเหนือของเกาะลูซอนในฟิลิปปินส์ โดยได้รับการตั้งชื่อว่า ‘Homo luzonensis’   โดยชิ้นส่วนโครงกระดูกที่พบประกอบไปด้วยฟัน ก...

Close Advertising