×

งานวิจัย

17 กุมภาพันธ์ 2023

กระทรวงอุดมศึกษาฯ พบ 33 อาจารย์ ใน 8 มหาวิทยาลัย เข้าข่ายต้องสงสัยผิดจรรยาบรรณ ซื้อผลงานตีพิมพ์

วันนี้ (17 กุมภาพันธ์) ศ.ดร.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยว่า ตามที่กระทรวง อว. ให้มหาวิทยาลัยทุกแห่งทำการตรวจสอบอาจารย์หรือนักวิจัยในสังกัด ว่ามีการกระทำที่เข้าข่ายการผิดจรรยาบรรณการวิจัย การเผยแพร่ผลงานจากการซื้อผลงานตีพิมพ์ และให้รายงานผลมายังสำนักงานปลัดกระทรวง อว. นั้น ขณะนี้มีสถาบันอุด...
9 กุมภาพันธ์ 2023

องค์ความรู้และงานวิจัยจะไม่ถูกแขวนขึ้นหิ้งอีกต่อไป เมื่อถูกนำไปปรับใช้จะทำให้เกิด ‘การพัฒนาที่ยั่งยืน’ [ADVERTORIAL]

เราต่างได้ยินคำว่า ‘งานวิจัย’ กันมาอย่างยาวนาน แต่ก็อาจมีข้อสงสัยว่าทำไมต้องมี และทำไปเพื่ออะไร   คำตอบคือ ‘งานวิจัย’ จะเป็นดั่งสารตั้งต้นที่ทำให้ทราบข้อเท็จจริงต่างๆ ซึ่งนำมาใช้เป็นประโยชน์เพื่อการปรับปรุงหรือพัฒนาในด้านต่างๆ ตลอดจนช่วยให้ค้นพบทฤษฎีและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ    แต่สำหรับ ‘สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์’ หรือ ‘นิ...
ยง ภู่วรวรรณ
13 มกราคม 2023

นพ.ยง ชวนผู้ป่วยติดเชื้อโควิดอย่างน้อย 2 รอบ ตอบแบบสอบถามเพื่องานวิจัย

วันนี้ (13 มกราคม) นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ประเด็น ‘ขอเชิญชวนผู้ที่ป่วยหรือติดเชื้อโควิด 2 ครั้ง ตอบแบบสอบถามเพื่องานวิจัย’   นพ.ยงระบุว่า ปัจจุบันโรคโควิดได้เริ่มมีการติดเชื้อซ้ำหรือมีการติดเชื้อเป็นครั้งที่ 2 มากข...
การนอนน้อย
17 พฤศจิกายน 2022

งานวิจัยชี้ ‘การนอนน้อย’ ของคนหนึ่งคน คือปัญหาระดับชาติ เพราะส่งผลให้นิสัยแย่ เห็นอกเห็นใจน้อยลง และเห็นแก่ตัวมากขึ้น

เป็นเรื่องที่ได้ยินกันมานักต่อนักว่าความเสี่ยงของการอดหลับอดนอนนั้นมีหลายรูปแบบ ตั้งแต่โรคหัวใจ โรคเครียด ไปจนถึงมีอาการหดหู่ซึมเศร้า แต่รู้หรือไม่ว่าที่จริงแล้วเรื่องการนอนไม่พอยังส่งผลกระทบและเกี่ยวข้องกับความเห็นแก่ตัว (Selfishness) และความเห็นอกเห็นใจของมนุษย์ (Empathy) อีกด้วย และเรื่องนี้ไม่ใช่แค่เรื่องส่วนบุคคล แต่เป็นเรื่องที่กระทบต่อความมั...
12 ตุลาคม 2022

ไม่ใช่นิสัย แต่มันคือวิถี! วิทยาศาสตร์ชี้ คนขี้เกียจมีแนวโน้มจะเป็นคนฉลาด ประสบความสำเร็จสูง และเป็นลูกจ้างที่ดีกว่า

โลกเรามีศัพท์มากมาย และศัพท์ต่างๆ สามารถแบ่งโซนได้ว่าอยู่โซนบวก (Positive) โซนกลางๆ (Neutral Zone) หรือโซนลบ (Negative) ขึ้นชื่อว่าความขี้เกียจ เราอาจมองว่ามันเป็นสิ่งที่แย่ และยังไงก็อยู่ในโซนลบแน่ๆ แต่ถ้ามันไม่ได้เป็นอย่างที่เราเข้าใจล่ะ? ถ้าหากความขี้เกียจสามารถทำให้คนประสบความสำเร็จได้ หรือมันบ่งชี้ว่าแท้จริงแล้วคนคนนั้นเป็นคนฉลาดถึงขั้นอัจฉริย...
29 กันยายน 2022

ผลวิจัยใหม่ชี้ว่า การบริโภคผักผลไม้และการออกกำลังกายช่วยเพิ่มระดับความสุขได้

มีงานวิจัยใหม่โดย University of Kent และ University of Reading ที่ค้นพบว่าการบริโภคผักและผลไม้ รวมถึงการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สามารถเพิ่มระดับความสุขได้ ซึ่งส่งผลต่อความเชื่อมโยงระหว่างไลฟ์สไตล์และความเป็นอยู่ที่ดี ที่มีการอ้างอิงและถูกนำมาใช้ในการรณรงค์ด้านสาธารณสุข เพื่อส่งเสริมให้ทุกคนหันมาใส่ใจในการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายควบคู่กันไป ...
เห็ดหลินจือ
25 กันยายน 2022

รัฐบาลเผยผลสำเร็จงานวิจัยไทยสกัดสารเห็ดหลินจือ ลดริ้วรอย ร่วมผลิตกับเอกชน ตั้งเป้า 30 ล้านบาทใน 3 ปีแรก

วันนี้ (25 กันยายน) รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวถึงความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรมในผลงานจากศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งได้รับงบสนับสนุนจากโครงการ Innovative House ภายใต้สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) คือการสกัดสารจากเห็ดหลินจือเพื่อทำเวชสำอางสรรพคุณสูง ลดริ้วรอย กระ...
ผู้ชาย
22 กันยายน 2022

ความจริงแล้ว ‘ผู้ชาย’ ใช้เวลาในห้องน้ำมากกว่า ‘ผู้หญิง’ และพวกเขามองว่าห้องน้ำคือพื้นที่ปลอดภัย

‘พื้นที่ปลอดภัย’ ดูเหมือนเป็นสถานที่ง่ายๆ อย่างบ้าน ห้องนอน ร้านอาหารที่ให้ความรู้สึกปลอดภัย หรือที่ง่ายไปกว่านั้น และหลายคนคิดไม่ถึงอย่าง ‘ห้องน้ำ’ ซึ่งถ้าให้คิดง่ายๆ กับคำถามที่ว่า ระหว่างผู้หญิงหรือผู้ชายจะใช้เวลาในห้องน้ำนานกว่ากัน? หลายคนคงตอบทันทีว่าเป็นผู้หญิง   แต่จากแบบสอบถามกลับกลายเป็น ‘ผู้ชาย’ ต่างหาก   ผลงานวิจัยจ...
ธารน้ำแข็งวันสิ้นโลก
8 กันยายน 2022

วิจัยเผย ‘ธารน้ำแข็งวันสิ้นโลก’ สูญเสียพื้นที่ยึดเกาะกับก้นทะเลรวดเร็ว หวั่นทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นถึง 10 ฟุต

นักวิทยาศาสตร์เตือนว่า ธารน้ำแข็งวันสิ้นโลก (Doomsday Glacier) มีแนวโน้มที่จะสูญเสียพื้นที่ยึดเกาะกับก้นทะเลเพิ่มขึ้นอีกอย่างรวดเร็วในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่น่ากังวล เพราะการถล่มหรือละลายตัวของน้ำแข็งอาจทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นได้ถึง 10 ฟุต   ธารน้ำแข็งวันสิ้นโลกมีขนาดพื้นที่กว้างใหญ่กว่า 1.92 แสนตารางกิโลเมตร หรือเทียบไ...
30 สิงหาคม 2022

งานวิจัยชี้ แผ่นน้ำแข็ง ‘ซอมบี้’ ในกรีนแลนด์ที่ละลายอย่างรวดเร็ว จะส่งผลให้ระดับน้ำทะเลทั่วโลกสูงขึ้นอย่างน้อย 10.6 นิ้ว

ผลการศึกษาวิจัยล่าสุดเกี่ยวกับแผ่นน้ำแข็งในประเทศกรีนแลนด์ ที่เผยแพร่ในวารสารวิทยาศาสตร์ Nature Climate Change เมื่อวานนี้ (29 สิงหาคม) ชี้ว่าการละลายของแผ่นน้ำแข็ง ‘ซอมบี้’ หรือแผ่นน้ำแข็งที่กำลังละลายอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีสัดส่วนคิดเป็นกว่า 3.3% ของแผ่นน้ำแข็งทั้งหมดในกรีนแลนด์ และมีปริมาณน้ำแข็งกว่า 120 ล้านตัน จะส่งผลให้ระดับน้ำทะเลทั่วโลก เพิ่มสู...


Close Advertising