×

กฎหมายสมรสเท่าเทียม

LGBTQ-ภาคีสีรุ้ง
15 มิถุนายน 2022

กลุ่ม LGBTQ-ภาคีสีรุ้ง ยื่นหนังสือแสดงจุดยืนหนุนร่าง พ.ร.บ.​ #สมรสเท่าเทียม​ เผยเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ตอกย้ำความเป็นคน​เท่ากัน

วันนี้ (15​ มิถุนายน​) ที่อาคารรัฐสภา​ (เกียกกาย) ฝั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กลุ่มภาคีสีรุ้ง เข้ายื่นหนังสือ​ต่อสภาผู้แทนราษฎรเพื่อเรียกร้องให้มีมติรับร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) สมรสเท่าเทียม ที่เสนอโดยพรรคก้าวไกล​ โดยมี แทนคุณ จิตต์อิสระ เลขานุการคณะทำงานประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับหนังสือ​   ทั้งนี้ ตัวแทนกลุ่มได้เน้นย้ำจุดยืน​อ...
ภาคีสีรุ้ง
13 มิถุนายน 2022

ภาคีสีรุ้งร่วมกับนักเคลื่อนไหวอิสระย้ำจุดยืน สมรสเท่าเทียมไม่เท่ากับ พ.ร.บ.คู่ชีวิต จับตาพิจารณา ‘พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม’ 15 มิ.ย. นี้ เตรียมจัดนฤมิตไพรด์ 4 ภาค

วันนี้ (13 มิถุนายน) กลุ่มภาคีสีรุ้งเพื่อการสมรสเท่าเทียม, เฟมินิสต์ปลดแอก, บางกอกนฤมิตไพรด์ และนักกิจกรรมอิสระ แถลงการณ์ย้ำจุดยืนผลักดันสมรสเท่าเทียม (แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์) เนื่องจากมองว่า พ.ร.บ.คู่ชีวิต เป็นการเลือกปฏิบัติและผลักให้ LGBTQ+ เป็นพลเมืองชั้นสอง    โดย พรหมศร วีระธรรมจารี นักกิจกรรมอิสระ กล่าวว่า การเลื่อนพ...
กฎหมายสมรสเท่าเทียม
12 มิถุนายน 2022

ก้าวไกลชวนจับตากฎหมาย #สมรสเท่าเทียม เข้าสภาฯ วันพุธนี้ ขอทุกพรรคโหวตรับเพื่อสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศ

วันนี้ (12 มิถุนายน) ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล สัดส่วนผู้มีความหลากหลายทางเพศ แถลงเรียกร้อง ส.ส. จากทุกพรรคการเมืองร่วมลงมติให้ร่างแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือ #สมรสเท่าเทียม ในวันพุธที่ 15 มิถุนายน 2565   โดยระบุว่า สัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ประชุมสภามีการอภิปรายยาวนานกว่า 8 ชั่วโมง จน...
สมรสเท่าเทียม
9 มิถุนายน 2022

เพจนักวิจัยกฎหมาย LGBTI โพสต์ 2 ข้อกังวลต่อกฎหมายคู่ชีวิต vs. สมรสเท่าเทียม ชี้มีความแตกต่างกันในหลักการเป็นอย่างมาก

วันนี้ (9 มิถุนายน) เพจนักวิจัยกฎหมาย LGBTI โพสต์ข้อความแถลงการณ์ผ่านเพจเฟซบุ๊ก เรื่อง ข้อกังวลต่อความแตกต่างในหลักการของร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต พ.ศ. .... กับร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (สมรสเท่าเทียม)    โดยให้รายละเอียดระบุว่า กฎหมายคู่ชีวิตนั้นมีหลักการสำคัญอยู่ที่การรับรองให...
สมรสเท่าเทียม
7 มิถุนายน 2022

‘ประวัติศาสตร์จะไม่ซ้ำ ประวัติศาสตร์จะต้องเปลี่ยน’ ย้อนรอย 13 ปี การต่อสู้เพื่อ #สมรสเท่าเทียม

จากมิถุนายน เดือนแห่งความภาคภูมิใจของผู้มีความหลากหลายทางเพศ หรือ Pride Month ทั่วโลกรวมทั้งไทยต่างเฉลิมฉลองให้กับเดือนแห่งความภาคภูมิใจนี้    ผ่านมาเกือบ 6 เดือน ล่าสุดพรุ่งนี้ (21 ธันวาคม) ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... หรือสมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอโดย สส. พรรคก้าวไกล จะกลับ...
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
7 มิถุนายน 2022

ครม. เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต แยกจากประมวลแพ่ง ส่งต่อที่ประชุม ส.ส. พิจารณา ย้ำเพื่อให้เป็นสากล-สอดคล้องกับโลก

วันนี้ (7 มิถุนายน) พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กล่าวภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ว่าวันนี้ในที่ประชุมได้มีการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คู่ชีวิต ซึ่งถือเป็นกฎหมายใหม่ สอดคล้องกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก เรื่องความเสมอภาคทางเพศและความหลากหลายทางเพศ และถือเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่ต้องได้ร...
Move Forward Party
30 มีนาคม 2022

ก้าวไกลชี้รัฐบาลตั้งใจทำลายความชอบต่อรัฐสภา หลังคว่ำร่างสมรสเท่าเทียม-สุราก้าวหน้า

วันนี้ (30 มีนาคม) ณัฐวุฒิ บัวประทุม พร้อมด้วย ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล และธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบบัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล ในฐานะผู้ริเริ่มเสนอร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) 1448 หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม แถลงข่าวถึงกรณีที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติไม่เห็นด้วยกับการ...
ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์
9 กุมภาพันธ์ 2022

ชมคลิป: เปิดใจ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ส.ส. ก้าวไกล ทำไมต้อง #สมรสเท่าเทียม

ทำความเข้าใจกระแส #สมรสเท่าเทียม และความเป็นไปได้ที่ประเทศไทยจะมีกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม เป็นชาติที่สองของเอเชีย   THE STANDARD พูดคุยกับ ส.ส. ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ และคณะฯ จากพรรคก้าวไกล ผู้ร่วมเสนอร่าง พ.ร.บ. แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฯ (ป.พ.พ.) มาตรา 1448 เปลี่ยนเป็นอนุญาตให้ ‘บุคคลทั้งสอง’ แทน ‘ชายและหญิง’ ซึ่งจะทำให้คู่รักทุกเพศ ...
equal marriage
9 กุมภาพันธ์ 2022

เปิด 9 เหตุผล ทำไมต้อง #สมรสเท่าเทียม

วันนี้ (9 กุมภาพันธ์) หลังรอคอยมา 448 วัน ในที่สุดร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.1448) หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ก็เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) นับจากวันแรก 18 มิถุนายน 2563 ซึ่งเป็นเดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ ที่กฎหมายสมรสเท่าเทียมยื่นเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎรผ่านกระบวนรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของร...
พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม
9 กุมภาพันธ์ 2022

อีกหน้าประวัติศาสตร์สภา ‘ร่างแก้ประมวลแพ่งให้สมรสเท่าเทียม’ ที่เสนอโดยก้าวไกล กำลังเข้าสู่วาระการพิจารณา

วันนี้ (9 กุมภาพันธ์) หลังรอคอยมา 448 วัน ในที่สุดร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.1448) หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ก็เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) นับจากวันแรก 18 มิถุนายน 2563 ซึ่งเป็นเดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ ที่กฎหมายสมรสเท่าเทียมยื่นเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎรผ่านกระบวนรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของร...


Close Advertising
X