×

ดาราศาสตร์

ดาวเคราะห์
8 มกราคม 2020

รู้จัก TOI 700 d ดาวเคราะห์ต่างระบบที่มีสภาพเหมาะสมกับการก่อกำเนิดชีวิตที่สุดที่เพิ่งถูกค้นพบ

ยานอวกาศนักล่าดาวเคราะห์ต่างระบบ ‘TESS’ ค้นพบเป้าหมายที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ล่าสุดพบระบบดาวที่มีดาวเคราะห์ 3 ดวงโดยดาวเคราะห์นึ่งในนั้นมีลักษณะใกล้เคียงกับโลกของเราอย่างไม่น่าเชื่อ   หลายปีที่ผ่านมามักมีข่าวการค้นพบดาวเคราะห์ต่างระบบ หรือดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exoplanet) จำนวนมากกว่า 4,100 ดวง* แต่ดาวเคราะห์เหล่านี้โดยส่วนใหญ่มักมีสภา...
ฝนดาวตกควอดรานติดส์
4 มกราคม 2020

ฝนดาวตกควอดรานติดส์ ต้อนรับทศวรรษใหม่ 2020

ทีมช่างภาพ THE STANDARD มุ่งหน้าสู่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เพื่อบันทึกภาพปรากฏการณ์ฝนดาวตกควอดรานติดส์ ซึ่งจะเกิดช่วงระหว่างวันที่ 28 ธันวาคม ถึง 12 มกราคมของทุกปี สำหรับปี 2563 มีอัตราการตกสูงสุด   หลังเที่ยงคืนของวันที่ 3 มกราคม ถึงรุ่งเช้าวันที่ 4 มกราคม ช่วงที่เหมาะแก่การสังเกตการณ์ที่สุด คือเวลาประมาณ 02.30 น. เป็นต้นไป ศูนย์กลางการกร...
วันเหมายัน
22 ธันวาคม 2019

22 ธันวาคม 2562 วันเหมายัน

วันนี้เป็นวันเหมายันที่กลางวันจะสั้นที่สุด และกลางคืนจะยาวนานที่สุดในรอบปี    โดยปีนี้วันเหมายันตรงกับวันที่ 22 ธันวาคม เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด ส่งผลให้ช่วงเวลากลางวันสั้นที่สุดและกลางคืนยาวที่สุดในรอบปี หรือที่คนไทยเรียกว่า ‘ตะวันอ้อมข้าว’   ...
ดวงจันทร์ของดาวเสาร์
8 ตุลาคม 2019

นักดาราศาสตร์ชวนตั้งชื่อดวงจันทร์ของดาวเสาร์ ที่เพิ่งถูกพบใหม่ถึง 20 ดวง

เมื่อวานที่ผ่านมา (7 ตุลาคม) ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย (Minor Planet Center) ซึ่งเป็นหน่วยงานในสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU) เผยว่า   ขณะนี้ได้มีการค้นพบดวงจันทร์ดวงใหม่ของดาวเสาร์เพิ่มขึ้นอีก 20 ดวง ส่งผลให้ดาวเสาร์เป็น ‘ราชาแห่งดวงจันทร์’ ดวงใหม่ของระบบสุริยะ มีดวงจันทร์เป็นบริวารมากถึง 82 ดวง แซงหน้าดาวพฤหัสบดีที่มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 79 ดวง ...
ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ
14 กันยายน 2019

ว่างๆ ไปเดินท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ เมื่อมีหนังอุกกาบาตถล่มโลกให้ดูตลอดเดือนกันยายน

อย่าเพิ่งเมินหน้าหนีเวลาพูดถึงท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ หรือศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา สถานที่ให้ความรู้ทางด้านดาราศาสตร์ย่านเอกมัย เพราะเดือนนี้พวกเขามีภาพยนตร์ดีๆ มานำเสนอ ได้แก่ การฉายภาพยนตร์เต็มโดมจากเครื่องฉายดาวและสื่อมัลติมีเดียในชื่อเรื่อง อุกกาบาตถล่มโลก (Impact Earth) ที่บอกเล่าเรื่องราวของสะเก็ดดาวที่ทำให้เกิดแสง เมื่อการเผาไหม้ในชั้นบรรยา...
สิ่งมีชีวิตนอกโลก
12 กันยายน 2019

นักดาราศาสตร์พบน้ำบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเป็นครั้งแรก คาดอาจนำไปสู่การค้นพบสิ่งมีชีวิตนอกโลก

เมื่อวานนี้ (11 ก.ย.) ทีมนักดาราศาสตร์จาก University College London (UCL) ของสหราชอาณาจักร เผยข้อมูลการค้นพบครั้งสำคัญในวารสาร Nature Astronomy ระบุว่าดาว K2-18b ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะมีน้ำเป็นองค์ประกอบสำคัญของชั้นบรรยากาศ นับเป็นการค้นพบน้ำบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่โคจรอยู่ในระยะที่ไม่ห่างจากดาวฤกษ์มากจนเกินไป และยังคงเอื้อต่อการดำรงอยู่ของสิ่...
Oscar of science
6 กันยายน 2019

ทีมนักวิทยาศาสตร์ผู้อยู่เบื้องหลังภาพหลุมดำภาพแรกของมวลมนุษยชาติ คว้ารางวัล Oscar of science

เมื่อวานที่ผ่านมา (5 ก.ย.) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่าทีมนักวิทยาศาสตร์ 347 ชีวิตผู้อยู่เบื้องหลังภาพหลุมดำภาพแรกของมวลมนุษยชาติ คว้ารางวัล Breakthrough Prize in Fundamental Physics หรือรู้จักกันในชื่อรางวัล Oscars of science พร้อมเงินรางวัลกว่า 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 92 ล้านบาท) นับเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ในวงการวิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์โลก ...
Global heading for Point of no return
30 พฤษภาคม 2019

ถ้าโลกใบนี้อยู่ไม่ได้ พวกเราเหล่ามวลมนุษย์จะย้ายไปอยู่ที่ไหนกัน

สภาพภูมิอากาศโลกทุกวันนี้เลวร้ายลงทุกที สภาวะโลกร้อนที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการละลายของน้ำแข็งขั้วโลก ระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นก็เริ่มกัดเซาะเมืองชายฝั่งและท่วมพื้นที่ต่ำ น้ำในมหาสมุทรที่อุ่นขึ้นทำให้พายุหมุนเขตร้อนมีความรุนแรงขึ้น สภาพอากาศแล้ง ไฟป่า คลื่นความร้อน คลื่นความหนาวเย...
หลุมดำ
11 เมษายน 2019

ครั้งแรกของมวลมนุษยชาติ! นักดาราศาสตร์เผยภาพหลุมดำจากกาแล็กซีอันไกลโพ้น

10 เมษายน 2019 มนุษยชาติได้เห็นภาพของ ‘หลุมดำ’ เป็นครั้งแรก หลังทีมนักดาราศาสตร์จากโครงการ Event Horizon Telescope เผยแพร่ภาพหลุมดำขนาดใหญ่ใจกลางกาแล็กซี Messier 87 (M87) ซึ่งอยู่ห่างจากโลกราว 55 ล้านปีแสง ถ่ายภาพโดยใช้เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุจากหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ 8 แห่งทั่วโลก ...
Event Horizon Telescope
11 เมษายน 2019

นักดาราศาสตร์เผยภาพหลุมดำครั้งแรก มวลมากกว่าดวงอาทิตย์ 6,500 ล้านเท่า

โลกได้เห็นภาพของหลุมดำเป็นครั้งแรก หลังทีมนักดาราศาสตร์นานาชาติจากโครงการ Event Horizon Telescope ได้เผยแพร่ภาพถ่ายหลุมดำขนาดมหึมา ซึ่งอยู่ใจกลางกาแล็กซีที่มีชื่อว่า Messier 87 (M87) ห่างจากโลกราว 55 ล้านปีแสง   เชป โดเลแมน ผู้อำนวยการโครงการ Event Horizon Telescope แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประกาศข่าวดีเมื่อเวลา 20.00 น. วานนี้ (10 เม.ย....

Close Advertising