×

ดาราศาสตร์

17 มิถุนายน 2020

นับถอยหลังสู่วันครีษมายัน 21 มิถุนายน วันที่กลางวันยาวนานกว่ากลางคืน และปีนี้มีสุริยุปราคา

เราทุกคนรู้ว่าในฤดูร้อนของทุกปี ช่วงเวลากลางวันจะยาวนานกว่ากลางคืน นั่นหมายความว่าท้องฟ้าในฤดูร้อนจะสว่างเร็วและมืดช้ากว่าฤดูหนาว    เหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เนื่องมาจากความเอียงของแกนโลก ทำให้ในรอบหนึ่งปีที่โลกโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ จะมีบางเดือนที่ซีกบนคือซีกโลกเหนือ ซีกที่ประเทศไทยเราตั้งอยู่ เอียงเข้าหาดวงอาทิตย์นานกว่าเดือนอื่น และจะมีอ...
12 มิถุนายน 2020

ทีมนักดาราศาสตร์พบดาวเคราะห์ดวงใหม่ในระบบดาวอัลฟา เซ็นทอรี ระบบดาวฤกษ์ 3 ดวง ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด

ในจักรวาลอันกว้างใหญ่ไพศาลนั้นประกอบด้วยดาวฤกษ์จำนวนมากมายมหาศาล มีดาวฤกษ์ราว 4,000 ดวง ที่ได้รับการค้นพบแล้วว่า มีดาวเคราะห์เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ คล้ายกับระบบสุริยะของเราที่มีดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ศูนย์กลางระบบ และมีดาวเคราะห์จำนวนมากถึง 8 ดวง รวมโลกเราด้วย โคจรเป็นบริวารอยู่นั่นเอง   ถัดจากระบบสุริยะของเราออกไปที่ระยะทางประมาณ 4.37 ป...
8 มิถุนายน 2020

21 มิ.ย. นี้ สดร. ชวนชมสุริยุปราคาบางส่วนเหนือน่านฟ้าไทย ย้ำพลาดรอบนี้ต้องรออีก 7 ปี

วันนี้ (8 มิถุนายน) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ หัวหน้างานบริการวิชาการทางดาราศาสตร์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. เปิดเผยว่าในวันอาทิตย์ที่ 21 มิถุนายน 2563 จะเกิดปรากฏการณ์ ‘สุริยุปราคาวงแหวน’ แนวคราสวงแหวนพาดผ่านสาธารณรัฐแอฟริกากลาง คองโก เอธิโอเปีย ตอนใต้ของปากีสถาน ตอนเหนือของอินเดีย และสาธารณรัฐประชาชนจีน ส่วนประเทศไทยจะเห็นเป...
7 เมษายน 2020

สดร. ชวนดูปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี คืนวันที่ 8 เม.ย. นี้

วันนี้ (7 เมษายน) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ หัวหน้างานบริการวิชาการทางดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) เปิดเผยว่า วันพุธที่ 8 เมษายน 2563 จะเกิดปรากฏการณ์ ‘ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกที่สุดในรอบปี’ หรือ Super Full Moon ห่างจากโลก 357,022 กิโลเมตร หากเปรียบเทียบกับดวงจันทร์เต็มดวงช่วงเวลาปกติ จะมีขนาดใหญ่กว่า 7% และสว่างกว่า 16% สังเกตได้ด้วยตาเปล...
17 มีนาคม 2020

ถึงเวลาแล้วหรือยังที่มนุษย์จะต้องหาดาวใหม่ – THE STANDARD Daily 17 มี.ค. 63

THE STANDARD Daily ประจำวันที่ 17 มีนาคม 2563 เวลา 20.00 น.    สงคราม ภัยธรรมชาติ โรคระบาด ถึงเวลาแล้วหรือยังที่มวลมนุษย์จะต้องหาดาวดวงใหม่ไว้รองรับ ความเป็นไปได้มีมากน้อยเพียงใด ร่วมส่งคำถามและข้อสงสัยต่างๆ มาให้เหล่านักวิทยาศาสตร์จาก QTFT ช่วยไขคำตอบได้ และต้อนรับแขกรับเชิญพิเศษ ‘ดร.วิภู รุโจปการ’ และ ‘ผศ.ดร.อรรถกฤต ฉัตรภูติ’ อ...
29 กุมภาพันธ์ 2020

29 กุมภาพันธ์ – วันอธิกวาร

4 ปีมีแค่ 1 ครั้ง ใช่แล้ว วันนี้คือวันอธิกวาร ที่ตรงกับวันที่ 29 กุมภาพันธ์ที่ไม่ปรากฏในปฏิทินของทุกปี   วันอธิกวาร หรือวัน Leap Day จะมีก็ต่อเมื่อตรงกับปี ค.ศ. ที่หารด้วย 4 ลงตัว ซึ่งปีที่มีวันที่ 29 กุมภาพันธ์จะเรียกว่าปีอธิกสุรทิน ซึ่งเกิดจากการที่ปฏิทินสมัยใหม่มีจำนวนวัน 365 วัน แต่จริงๆ แล้วการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์จะต้องใช้เวลาประ...
NASA
25 กุมภาพันธ์ 2020

แคเธอรีน จอห์นสัน นักคณิตศาสตร์หญิงผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของ NASA เสียชีวิตแล้วในวัย 101 ปี

วันนี้ (24 กุมภาพันธ์) แคเธอรีน จอห์นสัน นักคณิตศาสตร์หญิงผิวสี เชื้อสายแอฟริกัน-อเมริกัน ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของ NASA โดยเฉพาะภารกิจยาน Apollo 11 เมื่อ 50 กว่าปีก่อน เสียชีวิตแล้วอย่างสงบในวัย 101 ปี   โดย NASA ยกให้เธอเป็นหนึ่งในบุคคลต้นแบบผู้ทรงอิทธิพลที่สุดที่ช่วยทลายกำแพงทางสังคม เชื้อชาติ และสีผิว อีกทั้งเธอยังเคยได้รับ...
Star Wars
13 มกราคม 2020

ยาน TESS พบโลกที่มีดวงอาทิตย์​ 2 ดวง แบบดาว ‘ทาทูอิน’ ในภาพยนตร์​เรื่อง Star Wars

นิยายปรัมปราของจีนมีเรื่องของโลกเราสมัยโบราณที่มีดวงอาทิตย์มากมายถึง 10 ดวงในคราเดียว ซึ่งทำให้โลกในเวลานั้นร้อนจนแทบมอดไหม้ จนพระเจ้าเหยา กษัตริย์แห่งมวลมนุษย์ทนไม่ไหว ต้องขอให้แม่ทัพสวรรค์ผู้เก่งกาจ โฮ่วอี้ (后羿) ผู้เป็นสามีของเทพธิดาดวงจันทร์ ฉางเอ๋อ ไปจัดการ และเขาก็ใช้ธนูยิงดวงอาทิตย์ดับไป 9 ดวง เหลือเพียงดวงเดียวดังเช่นในปัจจุบัน หรือในภาพยนตร...
จันทรุปราคาเงามัว
9 มกราคม 2020

สดร. ชวนดู ‘จันทรุปราคาเงามัว’ เริ่มหลังเที่ยงคืนวันที่ 10 ถึงรุ่งเช้าวันที่ 11 ม.ค. นี้

วันนี้ (9 มกราคม) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ หัวหน้างานบริการวิชาการทางดาราศาสตร์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. เปิดเผยว่าช่วงหลังเที่ยงคืนวันที่ 10 เข้าสู่รุ่งเช้าวันเสาร์ที่ 11 มกราคม 2563 จะเกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาเงามัวในช่วงเวลาประมาณ 00.08-04.13 น. ตามเวลาในประเทศไทย เงามัวจะบังมากที่สุดในเวลาประมาณ 02.10 น. หากสังเกตด้วยตาเ...

Close Advertising