×

ดาราศาสตร์

4 กันยายน 2024

คณะนักดาราศาสตร์สมัครเล่นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ TOI 6883 b ประเภทดาวพฤหัสบดีอุ่น

คณะนักดาราศาสตร์สมัครเล่นใช้กล้องโทรทรรศน์จากหลังบ้านตนเอง ร่วมยืนยันการค้นพบดาวเคราะห์ประเภทดาวพฤหัสบดีอุ่น หรือ Warm Jupiter ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ที่ห่างจากโลกไป 305 ปีแสง   การค้นพบดังกล่าวใช้เทคนิคการ ‘อุปราคา’ หรือ Transit เมื่อแสงจากดาวฤกษ์เกิดหรี่ลงไปชั่วขณะในระหว่างที่มีดาวเคราะห์โคจรผ่านหน้า แบบเดียวกับปรากฏการณ์สุริยุปราคาที่ทำให้ด...
28 สิงหาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวฤกษ์เกิดใหม่ในเนบิวลา NGC 1333 สุดคมชัด

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพสุดคมชัดของเนบิวลา NGC 1333 แสดงให้เห็นดาวฤกษ์และดาวแคระน้ำตาลที่กำลังก่อตัว   เนบิวลาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของเมฆโมเลกุลเพอร์ซิอัส (Perseus Molecular Cloud) ที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 960 ปีแสง และเป็นบริเวณที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลบันทึกภาพไว้ในโอกาสฉลองครบ 33 ปีของภารกิจ เมื่อเดือนเมษายน ปี 2023   อย...
9 กรกฎาคม 2024

เด็กไทยวิจัยไกลถึงดวงดาว: ชวนดูโครงงานดาราศาสตร์ของเยาวชนไทย ในงาน TACs 2024

อวกาศอาจเป็นเรื่องห่างไกล และดูเกินเอื้อมคว้าไปถึงดาว แต่ไม่ใช่สำหรับเยาวชนหลายคน ที่แม้เท้าของพวกเขายังอยู่บนพื้นโลก แต่ดวงตาและความคิดพวกเขาได้แหงนมองไปยังเทหวัตถุบนฟ้าสุดแสนไกล   เมื่อวันที่ 29-30 มิถุนายนที่ผ่านมา THE STANDARD ได้ร่วมสังเกตการณ์งานประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 10 หรืองาน TACs 2024 จัดโด...
ดาวเคราะห์น้อยเบนนู
9 กรกฎาคม 2024

ดาวเคราะห์น้อยเบนนู อาจเป็นส่วนหนึ่งของดาวแห่งมหาสมุทรในอดีต

นักวิทยาศาสตร์เผยข้อมูลใหม่จากการศึกษาตัวอย่างหินของ ดาวเคราะห์น้อยเบนนู (Bennu) พบว่า ดาวดวงนี้อาจเป็นซากชิ้นส่วนที่แตกออกจากดาวที่ปกคลุมด้วยมหาสมุทรในอดีต    ข้อมูลการศึกษาตัวอย่างหินขั้นเบื้องต้นถูกเผยแพร่ในวารสาร Meteoritics & Planetary Science เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พบว่า ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้มีองค์ประกอบของคาร์บอนและไนโตรเ...
James Webb Space Telescope
1 มิถุนายน 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบกาแล็กซีแห่งใหม่ที่อยู่ไกลจากโลกที่สุด

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีไกลโลกที่สุดเท่าที่เคยค้นพบมา จากภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   กาแล็กซีดังกล่าวมีชื่อว่า JADES-GS-z14-0 มีค่าการเลื่อนไปทางแดง หรือค่า Redshift (z) ประมาณ 14.32 เท่ากับแสงที่เราเห็นจากดาราจักรแห่งนี้ ใช้เวลานานกว่า 13,500 ล้านปีเพื่อเดินทางมาถึงโลก ทำลายสถิติเดิมของกาแล็กซี JADES-GS-z13-0 ...
1 กุมภาพันธ์ 2024

นักวิจัยไทยพบ 13 กาแล็กซีในยุคแรกเริ่มของเอกภพ จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

ดร.ณิชา ลีโทชวลิต นักวิจัยของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้นำทีมคณะนักดาราศาสตร์นานาประเทศตรวจพบกาแล็กซีมวลน้อยเพิ่มอีก 13 แห่งที่มีอยู่ตั้งแต่เอกภพ มีอายุเพียง 550-700 ล้านปี   งานวิจัยดังกล่าวได้ศึกษาข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ภายใต้โครงการวิจัย GLASS-JWST-ERS เพื่อตรวจหากาแล็กซียุคแรกเริ่มของเอกภพ ที่กำเนิด...
10 Travel Trend 2024
3 มกราคม 2024

10 Travel Trend 2024: จะเกิดอะไรขึ้นบ้างในวงการท่องเที่ยวปี 2024

หลังจากที่ปี 2023 เป็นปีที่ผู้คนสนุกสนานกับชีวิตไร้กรอบ ได้ออกจากบ้านอย่างอิสระ ได้ดื่มด่ำกับประสบการณ์การท่องโลกแบบไร้ขอบเขต แวะเวียนไปยังแหล่งท่องเที่ยวเก่าๆ ที่เราคุ้นเคยเพื่อเยียวยาความโหยหาและคิดถึง    ในปี 2024 เทรนด์ท่องเที่ยวต่างๆ ในช่วงก่อนโควิดจะวนกลับมาอีกครั้ง ความเบื่อหน่ายต่อฝูงชน ความรวดเร็วของเทคโนโลยี ทำให้เราถามหาค...
พงศธร สายสุจริต
26 ธันวาคม 2023

“วันหนึ่งทุกคนจะมีดาวเทียมเป็นของตัวเอง” คุยกับ ดร.พงศธร สายสุจริต ผู้สร้างดาวเทียมสัญชาติไทยดวงแรก

เมื่อเทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของมนุษย์อย่างแยกไม่ออก ทั่วโลกตระหนักถึงความก้าวกระโดด ซึ่งนอกจาก AI แล้ว หนึ่งในเทคโนโลยีที่กำลังรอวันผงาดก็คือ ‘เทคโนโลยีอวกาศ’ ที่ทำให้การเดินทางสู่ห้วงจักรวาลไม่ใช่ฝันที่แสนไกลอีกต่อไป เมื่อยานหรือดาวเทียมอาจเป็นสิ่งที่ใครๆ ก็สามารถมีได้ เหมือนในยุคคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีใครเคยคาดคิดว่าจะมีอยู่ทุกบ้าน ...
NASA
14 กรกฎาคม 2023

EXCLUSIVE: คุยกับนักดาราศาสตร์ NASA สรุปการค้นพบสำคัญในรอบ 1 ปี กล้องเจมส์ เว็บบ์

จากการสำรวจดาวเคราะห์ต่างๆ ในระบบสุริยะ สู่ภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกในจุดเริ่มต้นของจักรวาล กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ช่วยปลดล็อกมุมมองและองค์ความรู้ใหม่ๆ ในด้านดาราศาสตร์อย่างมากมาย ในระยะเวลาเพียงแค่ 1 ปีที่กล้องได้เริ่มต้นปฏิบัติการสำรวจด้านวิทยาศาสตร์อย่างเต็มรูปแบบ   วันที่ 12 กรกฎาคม 2022 NASA และองค์การอวกาศยุโรป (ESA) พร้อมด้ว...
9 พฤษภาคม 2023

นักวิจัย​พบดวงอาทิตย์​ในระบบดาวอื่นกลืนกินดาวเคราะห์​บริวารอย่างชัดเจน​เป็น​ครั้งแรก​ในวงการ​ดาราศาสตร์​

ดวงดาวแสนสวยที่กะพริบ​กันเต็มท้องฟ้า​ยามค่ำคืนที่มืดสนิทนั้น หากตัดดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ เช่น ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และดาวเสาร์ออกไปแล้ว ที่เหลือคือดาวฤกษ์ทั้งนั้น และที่สำคัญคือแทบไม่มีดาวฤกษ์ดวงไหนที่มองเห็นด้วยตาเปล่าจะมีขนาดจริงที่เล็กกว่าดวงอาทิตย์ของเราเลย   ที่เป็นแบบนั้นเพราะในความเป็นจริงแล้วดวงอาทิตย์ของเราแม้มีเส้นผ่...

X
Close Advertising