×

พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

Yao Bowon Nakhon Building
16 กรกฎาคม 2021

โบราณคดีครัวเรือนที่ตึกยาวบวรนคร (ศรีธรรมราช) ขุดอดีตเพื่อสร้างอนาคต

แทบทุกจังหวัดของไทยล้วนตั้งอยู่บนเมืองเก่าหรือชุมชนโบราณแทบทั้งสิ้น มีอายุตั้งแต่หลักร้อยไปจนถึงพันปีก็มี ปัญหาจึงอยู่ตรงที่ว่า ควรจะทำอย่างไรเพื่อไม่ให้การพัฒนาเมืองในทุกวันนี้ทำให้เราไม่ต้องสูญเสียข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์โบราณคดี ซึ่งในต่างประเทศถือกันว่าเป็นทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่สำคัญ เพราะเป็นของที่เมื่อถูกทำลายแล้วไม่สามารถสร้างใหม่หรือกู้...
นครวัดจำลองที่บุรีรัมย์
9 กรกฎาคม 2021

นครวัดจำลองที่บุรีรัมย์ ปมประวัติศาสตร์ไทย-กัมพูชา และกำเนิดสัญลักษณ์ของชาติ

นครวัดถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของกัมพูชา การพยายามจำลองปราสาทหินที่บุรีรัมย์ที่เป็นข่าวในตอนนี้จึงเป็นปัญหาขึ้นมา เพราะความรู้สึกชาตินิยมของคนกัมพูชา (เขมร) ซึ่งความรู้สึกชาตินิยมนี้มันก็ฝังกันอยู่ในตัวคนทุกประเทศ เรื่องนี้มันคงไม่ต่างกันถ้าหากประเทศใดประเทศหนึ่งจำลองวัดพระแก้วไป   ความจริงจีนก็ได้จำลองปราสาทบายนหรือเมืองนครธมไปสร้างขึ้...
ร้อนจัด หนาวจัด เพราะอากาศจึงทำอารยธรรมล่มสลายเมื่อ 4,000 ปีที่แล้ว
11 มิถุนายน 2021

ร้อนจัด หนาวจัด เพราะอากาศจึงทำอารยธรรมล่มสลายเมื่อ 4,000 ปีที่แล้ว

หน้าฝน แต่อากาศร้อนจัด เป็นอะไรที่วิปริตมาก เมื่อย้อนกลับไปในสมัยผมยังเด็กที่ฝนตกสม่ำเสมอ อยู่บ้านไม้ ไม่ต้องติดแอร์กันเลย เรื่องนี้บางคนอาจโทษมลภาวะจากมนุษย์ที่เร่งให้เกิดภาวะโลกร้อน แต่ความจริงแล้วสภาวะแห้งแล้งจนมนุษย์อยู่ไม่ได้ ถึงขั้นอารยธรรมล่มสลายนั้นเคยเกิดขึ้นมาแล้วก่อนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมเสียอีก   เมื่อราว 4,200 ปีมาแล้ว เป็นช่ว...
ย้อนรอยโรคระบาดจากโบราณคดี ต้นตอโรคร้ายที่มาจากมนุษย์
28 เมษายน 2021

ย้อนรอยโรคระบาดจากโบราณคดี ต้นตอโรคร้ายที่มาจากมนุษย์

มนุษย์ต้องเผชิญกับโรคระบาดมาอย่างน้อยตั้งแต่ 6 ล้านปีมาแล้ว ซึ่งมันไม่ได้ส่งผลเพียงแค่ทำให้คนตายเป็นจำนวนมากเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และประชากรอย่างรุนแรง ถึงอย่างนั้น โรคระบาดก็เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เราเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลาอย่างน่าสนใจ ซึ่งควรนำมาตั้งคำถามกับการเกิดขึ้นของโรคระบาดโควิด-19 ครั้งนี้ด้วยว่...
2 วันในปัตตานี / ปาตานี ท่องไปในแดนลังกาสุกะจนถึงรัฐอิสลาม เปลี่ยนการรับรู้เป็นความเข้าใจ
16 เมษายน 2021

2 วันในปัตตานี / ปาตานี ท่องไปในแดนลังกาสุกะจนถึงรัฐอิสลาม เปลี่ยนการรับรู้เป็นความเข้าใจ

2 วันนั้นไม่พอแน่ที่จะรู้จักปัตตานี แต่ถึงอย่างนั้นก็มากพอที่จะซึมซับความรู้สึกบางอย่าง และเปลี่ยนความทรงจำมีต่อ ‘ปาตานี’ ชื่อที่คนในพื้นที่เรียกขานตนเอง ได้พอสมควร    ผมเชื่อว่าถ้ามีใครสักคนเอ่ยปากชวนคุณไปเที่ยวปัตตานี สิ่งแรกที่แวบเข้ามาในหัวคือ ความรู้สึกอันตราย เสี่ยงระเบิด และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งความรู้สึกเช่นนี้เองที่กลายเป็นอ...
ชาวกะเหรี่ยงชายหญิงเมื่อคราวมารับเสด็จรัชกาลที่ 7 ถ่ายภาพเมื่อปี 2469 ที่เชียงใหม่ (ภาพ: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
24 กุมภาพันธ์ 2021

สิทธิชนพื้นเมืองของชาวกะเหรี่ยง สิ่งที่ควรตระหนักก่อนแก่งกระจานจะเป็นมรดกโลก

การเคารพสิทธิชนพื้นเมืองถือเป็นเรื่องสำคัญมากในสากลโลก Amnesty International ระบุว่าชนพื้นเมืองมีสิทธิอาศัยอยู่ในที่ดินดั้งเดิมของพวกเขา รัฐหรือใครก็ตามไม่มีสิทธิ์ไล่พวกเขาออกจากที่ดินด้วยการใช้กำลัง แต่รัฐบาลต้องตระหนักและปกป้องพวกเขา    ในคำประกาศขององค์การสหประชาชาติในเรื่องสิทธิของชนพื้นเมือง (Rights of Indigenous Peoples) มาตรา...
The Dig ขุดเวียงแก้ว วังวงศ์มังราย
13 กุมภาพันธ์ 2021

The Dig ขุดเวียงแก้ว วังวงศ์มังราย เปิดอดีตเผยบาดแผลของปัจจุบัน

อุดมการณ์ความคิดเบื้องหลังมีส่วนสำคัญมากต่อการขุดค้นวังเก่า หรือไม่ว่าแหล่งโบราณคดีใดๆ ก็ตาม ไม่ใช่งานวิชาการล้วนๆ หรือเป็นเรื่องของความต้องการในการอนุรักษ์ และศึกษาอดีตเพียงอย่างเดียวตามที่คิดกัน ถ้าพูดอย่างรวบรัด การขุดค้นทางโบราณคดีนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการเมืองไม่มากก็น้อย     ในช่วง 3-4 ปีมานี้ โดยเฉพาะปีนี้ ทางเชียงใหม่มีคว...
อมก๋อย ดินแดนดั้งเดิมของชาวเขาโบราณ
13 มกราคม 2021

อมก๋อย ดินแดนดั้งเดิมของชาวเขาโบราณที่ถูกหลงลืมจากสิทธิขั้นพื้นฐาน

ช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ชื่อของแม่ตื่น อำเภออมก๋อย กลายเป็นประเด็นใหญ่โตระดับประเทศ จากการที่พิมรี่พายได้ขึ้นไปบริจาคสิ่งของให้กับชาวบ้านบ้านแม่เกิบ ตามมาด้วยเสียงวิพากษ์วิจารณ์อีกมากมาย มีทั้งเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เตือนด้วยมุมมองอันหวังดี ต่างๆ นานา ในขณะเดียวกัน ศรีสุวรรณ จรรยา ก็ออกมากล่าวหาชาวบ้านว่าบุกรุกพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ซึ่งสะท้อนถึงการเข้าใจปร...
โบราณคดีเด็ก เด็กเก็บหอย ภาพวาดของความรักและผูกพัน เมื่อเด็กคือผู้สร้างประวัติศาสตร์
9 มกราคม 2021

โบราณคดีเด็ก เด็กเก็บหอย ภาพวาดของความรักและผูกพัน เมื่อเด็กคือผู้สร้างประวัติศาสตร์

มีคำกล่าวว่า เด็กไม่ได้เป็นผู้เขียนประวัติศาสตร์ แต่เป็นผู้ที่สร้างประวัติศาสตร์ แต่เมื่อพิจารณากันไปแล้วเรากลับไม่ค่อยเห็นเด็กในพื้นที่ทางประวัติศาสตร์มากนัก ทั้งๆ ที่มีบทบาทต่อการสร้างประวัติศาสตร์มนุษยชาติมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์แล้ว และในอนาคตอันใกล้ เด็ก-เยาวชนจะกลายมาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อการสร้างสังคมขึ้นมาใหม่ ดังที่เราก็เห็นไปแล้ว...
หนังสือนำเที่ยวอียิปต์เล่มแรก
30 ธันวาคม 2020

หนังสือนำเที่ยวอียิปต์เล่มแรกของสยาม และภาพถ่ายอียิปต์ชุดแรกในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ปี 2021 แกรนด์มิวเซียมของอียิปต์จะเปิดอย่างเป็นทางการ (ถ้าไม่เลื่อนอีก) แต่ก็ไม่รู้ว่าจะมีโอกาสได้ไปเที่ยวกันหรือเปล่าถ้าโควิด-19 ยังระบาดอยู่แบบนี้ และวัคซีนยังไม่มีประสิทธิภาพมากพอ หรือในท้ายที่สุดเราอาจต้องปรับมุมมองและหาทางป้องกันอยู่ร่วมกับมันไป ไม่อย่างนั้นก็คงไม่ได้เดินทางไปไหนกันสักที และธุรกิจท่องเที่ยวก็คงจะพังพินาศกันหมด    ...

MOST POPULAR


Close Advertising
X