×

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)

27 มีนาคม 2023

กรมอนามัยเผย คนไทยเนือยนิ่ง นั่งนานเกิน 7 ชั่วโมง เสี่ยงป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เสียชีวิตก่อนวัยอันควร

วันนี้ (27 มีนาคม) นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) ศึกษาวิจัยสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายเพียงพอและพฤติกรรมเนือยนิ่งของคนไทย    โดยวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพคนไทยในปี 2564 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ในผู้ที่มีอายุ 18-80 ปี จำนวน ...
รุ่งเรือง กิจผาติ
11 มีนาคม 2023

สธ. เผยผลวิจัยบริโภคโซเดียม 4 จังหวัดค่าเฉลี่ยสูงกว่าที่ WHO กำหนด พะเยาอันดับหนึ่ง

วันนี้ (11 มีนาคม) นพ.รุ่งเรือง กิจผาติ หัวหน้าที่ปรึกษาระดับกระทรวง ในฐานะประธานคณะกรรมการ MIU (MOPH Intelligence Unit) กล่าวว่า ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs (Non-Communicable diseases) เป็นปัญหาสำคัญระดับโลก ส่วนหนึ่งเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร สร้างผลกระทบทางสุขภาพ โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร...
เช็กสุขภาพคน กทม. โรคไม่ติดต่อ (NCDs) เกินภาพรวมประเทศ
29 เมษายน 2022

เช็กสุขภาพคน กทม. โรคไม่ติดต่อ (NCDs) เกินภาพรวมประเทศ

หลายคนน่าจะเคยเช็กสุขภาพประจำปีกันแล้ว วันนี้ THE STANDARD จะพา กทม. ไปเช็กสุขภาพกันบ้าง    ทั้งวัดความดันโลหิต วัดรอบเอว เจาะเลือดตรวจระดับน้ำตาลและไขมัน แต่ถ้ายังไม่ได้อดอาหารหลังเที่ยงคืนมาก็ไม่เป็นไร เพราะเราอ้างอิงจากผลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562-2563 โดยมหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันวิจัยระบบสาธา...
7 พฤศจิกายน 2018

หวาน มัน เค็ม ต้นเหตุโรคฮิตที่แฝงมาพร้อมความอร่อย Healthier Choice อีกทางเลือกของผู้บริโภค [Advertorial]

โรคไม่ติดต่อ (แต่เรื้อรัง) ที่ชื่อ NCDs หวาน มัน เค็ม คือรสชาติแห่งความกลมกล่อมที่เมื่อปรุงรวมกันแล้วสามารถทำให้อาหารจานง่ายๆ เกิดความอร่อยและจัดจ้านขึ้นมา แต่ทราบหรือไม่ว่าความเพลิดเพลินกับรส ‘หวาน มัน เค็ม’ ที่มากเกินไปกลับกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่คาดไม่ถึงของกลุ่มโรคที่ชื่อ Non-Communicable Diseases หรือ NCDs ซึ่งไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค แต่เ...
2 พฤษภาคม 2018

องค์การอนามัยโลกระบุ มลพิษทางอากาศคร่าชีวิตผู้คนกว่า 7 ล้านคนต่อปี ทวีปเอเชียเผชิญปัญหาหนักสุด

จากการเปิดเผยข้อมูลล่าสุดขององค์การอนามัยโลก (WHO) ที่รวบรวมข้อมูลกว่า 4,300 เมือง ใน 108 ประเทศทั่วโลกพบว่า ในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตเนื่องจากปัญหามลพิษทางอากาศสูงถึง 7 ล้านคน ซึ่งทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนากำลังประสบปัญหามลพิษทางอากาศอย่างหนัก บางแห่งมีมลพิษทางอากาศสูงกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำขององค์การอนามัยโลกถึง 5 เท่า  ...

Close Advertising