×

กฎหมายการสมรสเพศเดียวกัน

Ecuador's highest court approves same-sex marriage
13 มิถุนายน 2019

ศาลสูงเอกวาดอร์มีมติอนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย

เมื่อวานนี้ (12 มิ.ย.) ศาลสูงสุดของเอกวาดอร์มีมติ 5-4 เสียง อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกัน 2 คู่ที่ยื่นเรื่องต่อศาล สามารถสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย นับเป็นความก้าวหน้าครั้งสำคัญของสังคมผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศอนุรักษนิยมและเคร่งศาสนาในภูมิภาคลาตินอเมริกาอย่างเอกวาดอร์   โดยคณะตุลาการทั้ง 4 ท่านที่ไม่เห็นด้วยนั้นมองว่า ประเด็นดัง...
Taiwan The first same-sex marriages
24 พฤษภาคม 2019

ไต้หวันเริ่มจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกันวันนี้วันแรก ช่วงเวลาประวัติศาสตร์เริ่มต้นขึ้นแล้ว!

24 พ.ค. 2019 ความฝันกลายเป็นจริง! ไต้หวันเริ่มต้นจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกันวันนี้วันแรก หลังจากรัฐสภามีมติเห็นชอบผ่านร่างกฎหมายครั้งประวัติศาสตร์ อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายเป็นชาติแรกในเอเชีย...
24 พฤษภาคม 2019

Love Wins! ไต้หวันเริ่มจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกันวันนี้ คาดมีคู่รักกว่า 300 คู่จูงมือวิวาห์ใช้สิทธิ์

ทางการไต้หวันเริ่มต้นจดทะเบียนสมรสให้แก่คู่รักเพศเดียวกันวันนี้วันแรก (24 พ.ค.) ภายหลังจากที่รัฐสภามีมติเห็นชอบผ่านร่างกฎหมายครั้งประวัติศาสตร์ อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายเป็นชาติแรกในเอเชียเมื่อปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ทางการคาดจะมีคู่รักเพศเดียวกันมาร่วมใช้สิทธิ์สมรสนี้กว่า 300 คู่ภายในวันนี้   Shane Lin และ Marc ...
Taiwan legalizes same-sex marriage
18 พฤษภาคม 2019

ชาติแรกในเอเชีย! ไต้หวันผ่านร่างกฎหมายสมรสเพศเดียวกัน

รอยยิ้ม คราบน้ำตา และเสียงโห่ร้องด้วยความดีใจกึกก้องไปทั่วไทเป หลังรัฐสภาไต้หวันมีมติเห็นชอบผ่านร่างกฎหมายครั้งประวัติศาสตร์ อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายเป็นชาติแรกในเอเชีย...
taiwan lovewins
17 พฤษภาคม 2019

ไต้หวันผ่านร่างกฎหมายสมรสเพศเดียวกันเป็นชาติแรกในเอเชีย

ไต้หวันเป็นชาติแรกในเอเชียที่รัฐสภาผ่านร่างกฎหมายอนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสามารถสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย หลังจากที่มีมติเห็นชอบในวันนี้ (17 พ.ค.)   โดยศาลรัฐธรรมนูญไต้หวันให้เวลารัฐสภาพิจารณาร่างกฎหมายดังกล่าวเป็นระยะเวลา 2 ปี นับตั้งแต่ปี 2017 มติดังกล่าวมีขึ้น ก่อนกำหนดสิ้นสุดระยะเวลาจะมาถึงในวันที่ 24 พฤษภาคมนี้ ซึ่งศาลรับรองว่ากา...
Japanese LGBT seek marriage equality in Valentine's Day suits
14 กุมภาพันธ์ 2019

คู่รัก LGBTQ ญี่ปุ่น รวมตัวเรียกร้องสิทธิสมรสของคู่รักเพศเดียวกันในวันวาเลนไทน์

กลุ่มคู่รักของผู้มีความหลากหลายทางเพศในญี่ปุ่นกว่า 13 คู่ พร้อมด้วยกลุ่มผู้สนับสนุน ต่างมารวมตัวกันเรียกร้องให้รัฐบาลร่างกฎหมายให้สิทธิคู่รักเพศเดียวกันสามารถสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย หลังการผลักดันประเด็นนี้ในแดนปลาดิบเป็นไปอย่างล่าช้า แม้ในหลายพื้นที่จะประกาศอนุญาตให้อยู่กินฉันคู่ชีวิตได้ก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย   กลุ...
15 มกราคม 2019

วิพากษ์ร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต ที่ให้สิทธิไม่ร้อยเปอร์เซ็นต์ ผ่านครูกฎหมาย ไพโรจน์ กัมพูสิริ

หลังจากสนามการเมืองเปิด เราได้เห็นหลากเวทีสัมมนาเชิญพรรคการเมืองไปแสดงทรรศนะต่อประเด็นหลากหลายที่กลุ่มเคลื่อนไหวทางสังคมให้ความสำคัญ เช่นเดียวกับเวทีของกลุ่มรณรงค์ด้านความหลากหลายทางเพศ โดยเฉพาะเรื่องร้อนๆ อย่าง ร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต ที่จะเป็นหมุดหมายเริ่มต้นในการก่อหลักประกันความเสมอภาค ความเท่าเทียมของกลุ่มหลากหลายทางเพศให้เท่ากับคู่สมรสหญิงชาย ...
11 มกราคม 2019

แต่งงาน 26 ครั้ง! คู่รักเลสเบี้ยนญี่ปุ่นตั้งเป้าถ่ายภาพแต่งงานในทุกประเทศทั่วโลกที่อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสมรสกันได้

มิซาโตะ คาวาซากิ วัย 21 ปี และมายุ โอทากิ วัย 22 ปี คู่รักเลสเบี้ยนชาวญี่ปุ่นซึ่งเป็นนักศึกษาประจำมหาวิทยาลัยอุตสึโนะมิยะ จังหวัดโทจิงิ ทำโปรเจกต์ ‘แต่งงาน 26 ครั้ง’ โดยตั้งเป้าเดินทางไปถ่ายภาพแต่งงานในทุกประเทศทั่วโลกที่อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสามารถสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย หวังส่งต่อกำลังใจและความเชื่อมั่นในตัวเองให้กับผู้มีความหลากหลายท...
2 มกราคม 2019

คู่รักหญิงหญิงในออสเตรียเข้าพิธีวิวาห์ ประเดิมกฎหมายสมรสคู่รักเพศเดียวกัน

สำนักข่าว AP เปิดเผยว่า นิโคล โกเปานิก (Nicole Kopaunik) และ ดาเนียลา เพียร์ (Daniela Paier) คู่รักหญิงหญิงชาวออสเตรียวัย 37 ปี คือคู่รักเพศเดียวกันคู่แรกที่เข้าพิธีแต่งงาน หลังกฎหมายอนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสามารถสมรสกันได้อย่างถูกกฎหมาย เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2019 โดยทั้งคู่หมั้นหมายกันเมื่อ 4 ปีก่อน     เมื่อปี 20...
28 ธันวาคม 2018

2019 ปีที่ต้องจับตากฎหมายหลายฉบับ มรดกตกทอดจาก คสช. เข้าสู่ช่วงสุดท้ายของ สนช.

    ช่วงเวลานี้กำลังเดินหน้าเข้าสู่โหมดเลือกตั้ง ส.ส. หลังจากประเทศไทยต้องอยู่ภายใต้องค์กรนิติบัญญัติที่ชื่อว่า สภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ซึ่งไม่ได้มาจากการเลือกตั้งนานนับ 5 ปี   ที่ผ่านมามีการออกกฎหมายจำนวนมากโดยไม่ได้พิจารณาให้ละเอียด ซึ่งหลายฉบับต้องตามมาแก้ไขด้วยการใช้มาตรา 44   ขณะที่กฎหมายหลายฉบับท...

X
Close Advertising