×

ณัฐวุฒิ เผ่าทวี

ปัญหาจราจร
7 กุมภาพันธ์ 2022

ทำไมเราถึงปล่อยให้ ‘คนเดินรถสำคัญกว่าคนเดินเท้า’ มองปัญหาจราจรไทยๆ ผ่านมุมมองนักพฤติกรรมศาสตร์

ผมจำได้ว่าตอนที่ผมมาเรียนที่ประเทศอังกฤษใหม่ๆ ในเดือนกันยายนป 1992 หรือเกือบ 30 ปีที่แล้วเวลาข้ามถนนตรงทางม้าลายใกล้ๆ โรงเรียนประจำของผม ผมจะหยุดรอให้รถขับผ่านไปก่อนที่ผมจะข้าม แต่ที่ไหนได้คนขับรถกลับหยุดให้ผมข้าม ในระหว่างที่ผมกำลังยืนงงอยู่ชั่วครู่คนขับรถคนนั้นก็โบกให้ผมข้ามถนนไป ผมยังจำความรู้สึกในตอนนั้นได้ว่าตัวเองโชคดีมากๆ ที่เจอคนขับรถใจดี อ...
27 กรกฎาคม 2021

วิเคราะห์กลยุทธ์รับมือโควิดของอังกฤษ ทำไมจึงคลายล็อกแม้มีผู้ติดเชื้อต่อวันหลักหมื่น

มีคนถามผมว่าตอนนี้อังกฤษกำลังใช้กลยุทธ์อะไรในการต่อสู้กับโควิด ทำไมเขาถึงเปิดประเทศได้แล้ว ณ ตอนนี้ ทั้งๆ ที่จำนวนเคสกำลังพุ่งขึ้นสูงทุกวัน บางวันมากกว่าห้าหมื่นคนต่อวันด้วยซ้ำ   สำหรับใครที่ยังไม่ได้ดูวิดีโอของ TED-Ed ในหัวข้อ When is a pandemic over? รัฐบาลจะมีกลยุทธ์ในการรับมือกับการแพร่ระบาดของเชื้อโรคแบบ Global Scale อยู่สามกลยุทธ์ใ...
เมื่อการฉีดวัคซีนเป็นวาระแห่งชาติ มีวิธีไหนทำให้คนไปฉีดวัคซีนด้วยหลักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
12 พฤษภาคม 2021

เมื่อการฉีดวัคซีนเป็นวาระแห่งชาติ มีวิธีไหนทำให้คนไปฉีดวัคซีนด้วยหลักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม

ถ้าเราเริ่มต้นจากวันที่ผมเขียนบทความนี้ซึ่งก็คือวันที่ 10 พฤษภาคม 2021 แล้วเราลองย้อนเวลากลับไปเพียงแค่ 3 เดือนเท่านั้น ในสหราชอาณาจักร (ซึ่งก็มีประเทศอังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์เหนือรวมกัน) ที่มีประชากรพอๆ กันกับประเทศไทยคือ 65 ล้านคนนั้น จะพบว่าสหราชอาณาจักรมีสถิติของคนติดโควิด-19 มากถึงวันละเกือบ 60,000 คนต่อวัน และมีสถิติของผู้เสียชีวิต...
Clubhouse สุขภาพจิต
11 พฤษภาคม 2021

ความน่ากลัวของ Clubhouse ต่อสุขภาพจิตของคน

ก่อนอื่นเลยผมต้องขอบอกว่าผมชอบ Clubhouse นะครับ เพราะ Clubhouse ทำให้ผมได้มีโอกาสสื่อสารทั้งความคิดและความรู้ของผมโดยใช้ Medium ของการเล่าเรื่องแทนการเขียนออกไปสู่ผู้คนเป็นร้อยๆ ได้อย่างง่ายดาย แถมยังมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับคนที่ฟังผมแบบสดๆ ด้วย    แต่ถึงอย่างนั้นก็มีฟีเจอร์หนึ่งของ Clubhouse ที่ผมว่าเป็นฟีเจอร์ที่อันตรายมากต่อสุขภาพจิต...
‘เพราะไม่มั่นคงจึงต้องอวด’ ไขความลับของคนชอบอวดสถานะ
25 มกราคม 2021

‘เพราะไม่มั่นคงจึงต้องอวด’ ไขความลับของคนชอบอวดสถานะ

เมื่อประมาณสิบกว่าปีที่แล้ว ผมได้มีโอกาสได้ไปงานประชุมวิชาการที่ประเทศไทย ตอนนั้นผมพึ่งจบปริญญาเอกใหม่ๆ ในงานนั้นผมได้เจอผู้คนคนหลากหลาย แล้วก็มีอาจารย์อยู่ท่านหนึ่งที่ผมได้มีโอกาสเจอแบบผ่านๆ ผมจำได้ว่าท่านอาจารย์ท่านนี้ (ผมไม่ขอออกนามนะครับ) ได้กำชับกับเพื่อนรุ่นน้องของผมที่ช่วยจัดงานประชุมว่า อย่าลืมคำว่า ‘ศาสตราจารย์’ บนป้ายชื่อของเขา และเวลาประ...
เลือกยืนตรงกลางไม่ใช่เรื่องผิด รู้จัก Disloyalty Aversion ความลำเอียงด้านพฤติกรรมที่ทำให้คนไม่กล้า ‘ทรยศ’
28 ธันวาคม 2020

เลือกยืนตรงกลางไม่ใช่เรื่องผิด รู้จัก Disloyalty Aversion ความลำเอียงด้านพฤติกรรมที่ทำให้คนไม่กล้า ‘ทรยศ’

ย้อนเวลากลับไปในปี 2018 ปีที่รัสเซียเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลโลก ผมและนักศึกษาปริญญาเอกของผมได้ทดลองพิสูจน์ความลำเอียงด้านพฤติกรรมตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า ‘Disloyalty Aversion’ หรือการเกลียดการทรยศต่อสิ่งที่เราเคารพรัก   โดยในการพิสูจน์นี้ พวกเราได้ให้เงินกับอาสาสมัครที่เป็นแฟนฟุตบอลทีมชาติอังกฤษทั้งหมด เพื่อให้แต่ละคนเลือกพนันว่าใครจะแข่ง...
22 ตุลาคม 2020

พลังของเรื่องเก่าเล่าใหม่ ทำไมฟังเรื่องเก่ากี่ครั้งก็ยังจับใจเสมอ

ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ หลายคนน่าจะชอบของใหม่มากกว่าของเก่า ไม่ว่าจะเป็นหนังใหม่ๆ, สถานที่ท่องเที่ยวใหม่ๆ, อาหารที่เราอาจยังไม่เคยทานมาก่อน หรือแม้แต่แฟนใหม่...   พฤติกรรมการชอบของใหม่มากกว่าของเก่าของคนส่วนใหญ่ถือเป็นเรื่องธรรมชาติของมนุษย์เรา ซึ่งในทางจิตวิทยาเราเรียกพฤติกรรมนี้ว่า Novelty Seeking หรือการที่คนส่วนใหญ่ชอบมองหาของใหม่ๆ เข้ามาใ...
1 กันยายน 2020

วิธีจับโกหกของคนพูดอย่างทำอย่าง คำพูดแบบไหนส่อแววกลับกลอกมากที่สุด

คุณจะทราบได้อย่างไรครับว่าคนที่พูดอย่างแต่ทำอีกอย่าง เขาใช้คำพูดของเขาในการโกหกอย่างไรบ้าง   มีงานวิจัยอยู่ชิ้นหนึ่งที่ดูวิธีการสื่อสารของคนสองคนในเกมโชว์ที่มีชื่อว่า Golden Balls ที่ต้องตกลงกันว่าจะร่วมมือกันไหม ถ้าหลังจากคุยกันแล้วทั้งสองคนตกลงร่วมมือกัน ต่างคนก็จะแบ่งเงินกองกลางกลับบ้านไปกันคนละครึ่ง แต่ถ้าคนหนึ่งตอบว่าจะร่วมมือแต่อีก...
18 สิงหาคม 2020

‘เด็กสมัยนี้’ คิดอะไร ทำไมผู้ใหญ่ถึงไม่เข้าใจ รู้จัก The ‘kids these days’ effect

คุณเคยได้ยินคำว่า ‘เด็กสมัยนี้’ ไหมครับ   แล้วคุณเคยสงสัยไหมครับว่าทำไมเราจึงได้ยินผู้ใหญ่หลายท่านใช้คำว่า ‘เด็กสมัยนี้’ บ่อยๆ เช่น เด็กสมัยนี้ขี้เกียจบ้าง เด็กสมัยนี้ไม่มีความเคารพผู้ใหญ่บ้าง เด็กสมัยนี้ไม่ชอบอ่านหนังสือบ้าง ไม่ฉลาดและคิดด้วยตัวเองไม่เป็นบ้าง ฯลฯ   วันนี้ผมจะนำงานวิจัยในเรื่องของ ‘เด็กสมัยนี้’ หรือ ‘Kids thes...
14 กรกฎาคม 2020

ฆ่าตัวตาย… ป้องกันได้ ทำความรู้จักทฤษฎี Coupling สู่มาตรการป้องกันการฆ่าตัวตายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คุณคิดว่าจริงหรือไม่ที่หากใครสักคนจะอยากฆ่าตัวตาย ไม่ว่าเราจะป้องกันอย่างไร จนแล้วจนรอดเขาก็จะหาวิธีอื่นเพื่อจบชีวิตตัวเองให้สำเร็จจนได้อยู่ดี   หลายคนอาจมีความเชื่อเช่นนั้นนะครับ เรามักคิดว่าคนที่หมดหวังในชีวิตแล้ว ไม่ว่าเราจะห้ามปรามเขาอย่างไร ถ้าเขาตั้งใจจะปลิดชีพตัวเองจริงๆ ไม่ว่าใครจะห้าม เขาก็คงไม่ฟังอยู่ดี    แต่ใน...

MOST POPULAR


Close Advertising