×

พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

เขาแดง สงขลา
5 มีนาคม 2022

บุกรุกเขาน้อย-เขาแดง คือความพินาศของภูมิวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของเมืองสงขลา

การบุกรุกทำลายพื้นที่รอบโบราณสถานโดยนายทุนและนักการเมืองเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทย ล่าสุดกรณีพื้นที่ของเขาน้อยและเขาแดง อ.สิงหนคร จ.สงขลา ซึ่งมีโบราณสถานสมัยศรีวิชัยเพียงไม่กี่แห่งในคาบสมุทรภาคใต้ กลุ่มโบราณสถานในสมัยอยุธยา ซึ่งสะท้อนรากเหง้าและตัวตนของสงขลา ถือเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรมชั้นยอด มีสภาพน่าเป็นห่วง ถูกบุกรุกจนเกือบประชิดโบราณสถาน โดยเฉพาะวั...
han dynasty
28 มกราคม 2022

มรดกเส้นทางสายไหมเริ่มแรก ร่องรอยหลักฐานของราชวงศ์ฮั่นในไทย

ประวัติศาสตร์ชาติมักอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนว่าเริ่มต้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 ซึ่งเพดานอายุสมัยนี้เป็นปัญหาของประวัติศาสตร์ชาติที่เน้นไปที่ชนชาติไทย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนเก่าแก่ไปกว่านั้นมาก ระยะหลังมานี้ หลักฐานจีนสมัยราชวงศ์ฮั่นพบในไทยมากขึ้นโดยเฉพาะในเขตภาคใต้ สะท้อนว่าไทยได้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางสายไหมมานานกว่าที่เคยเข้าใจกัน ...
non-textbook history
31 ธันวาคม 2021

‘ประวัติศาสตร์นอกตำรา’ กับของชำรุดในประวัติศาสตร์ไทย ชวนคุยกับ อดิศักดิ์ ศรีสม

ประวัติศาสตร์ในกระแสหลักเดินทางมาถึงจุดหักเหอีกครั้ง เมื่อถูกท้าทายด้วยสื่อสมัยใหม่ไม่ว่าจะเป็น Facebook, YouTube ซึ่งทุกคนสามารถผลิตและเผยแพร่ความรู้ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างอิสระ ทำให้สังคมมีทางเลือกต่อการรับรู้อดีตอีกชุดหนึ่ง ส่งผลทำให้อำนาจของการผูกขาดอดีตโดยรัฐไม่อาจยึดกุมสำนึกและความคิดของประชาชนได้ง่ายๆ อีกต่อไป      ...
National Museum thailand
24 ธันวาคม 2021

เดินทางในหลุมขุดค้น ตามหาบรรพชนคนไทย ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า โฉมใหม่

สถาปัตยกรรมรูปทรงสี่เหลี่ยมสีน้ำตาลแดงแปลกตา คล้ายกับงาน Cubic Architecture ตั้งอยู่ท่ามกลางไร่มันสำปะหลังนี้ คงไม่มีใครคิดว่านี่คือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า ซึ่งเรียกได้ว่าฉีกไปจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทุกแห่งในประเทศไทย และไม่ใช่แค่เพียงในแง่ของสถาปัตย์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงวิธีการเล่าเรื่องอีกด้วย    บ้านเก่าเป็นวัฒนธรรมยุคก่อ...
Hua Lamphong Railway Station
24 พฤศจิกายน 2021

หัวลำโพงไม่ควรเป็น Death Museum ควรคิดถึงชีวิตทางสังคมและทุนทางประวัติศาสตร์ให้มาก

ข่าวการยุติการใช้สถานีหัวลำโพงโดยสิ้นเชิง เปลี่ยนไปใช้ที่บางซื่อแทน เพื่อลดปัญหาการจราจรและจุดตัดในเมือง เป็นเรื่องที่พูดถึงกันในสังคมวงกว้าง มีทั้งฝ่ายเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ซึ่งเป็นเรื่องปกติของสังคม แต่ในฐานะของคนที่เคยนั่งรถไฟ 10 ปี เป็นคนทำงานด้านประวัติศาสตร์ และเคยเห็นการจัดการสถานีรถไฟในอังกฤษและยุโรปบางแห่ง จึงขอนำเสนอบางแง่มุมดังนี้ ...
ถนนท้าวอู่ทอง
5 พฤศจิกายน 2021

ถนนท้าวอู่ทอง ประวัติศาสตร์บนแนวสันทรายโบราณจากราชบุรี-เพชรบุรี

ถนนเพชรเกษมช่วงราชบุรี-เพชรบุรี เป็นแนวสันทรายโบราณหลายพันปีที่แล้ว เพราะเป็นแนวชายฝั่งทะเลเดิม ผู้คนในอดีตจึงใช้แนวสันทรายนี้สัญจรไปมาทำให้พบชุมชนและโบราณสถานมากมายหลายยุคสมัย น่าเสียดายที่ความรู้พวกนี้ไม่ได้เผยแพร่มากนัก เพราะไม่ให้ความสำคัญกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่น    เมื่อไม่กี่วันก่อนผมเพิ่งไปถ้ำเขาย้อยมา ได้พบรูปเคารพของพระเจ้า...
Caladium
8 ตุลาคม 2021

เปิดตำนาน 140 ปีบอนสี จากบอนเจ้าสู่บอนไพร่ กระแสบอนจีน และ พส.เล่นต้นไม้

เห็นนักวิชาการและ ส.ส. ออกมาเตือนด้วยความเป็นห่วงถึงกระแสการเล่นบอนสีในไทยตอนนี้ว่าปั่นราคากันสูงมาก ซึ่งก็นับว่าเป็นความหวังดีที่ควรฟัง แต่ถ้าได้ย้อนกลับไปดูประวัติศาสตร์ของวงการบอนสีแล้ว จะพบว่าราคาบอนสีเคยสูงหลักแสนกันมาแล้วเมื่อเกือบร้อยปีก่อนเมื่อเทียบกับค่าเงินในปัจจุบัน คนในวงการบอนจริงๆ ไม่ได้ตื่นตระหนกอะไรกันมาก ราคาพวกนี้มีขึ้นมีลงเป็นปกต...
Baan Kudichin Museum
10 กันยายน 2021

เมื่อเรื่องเล่าทำให้ของมีชีวิต ผ่านพิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน โปรตุเกสแห่งเมืองบางกอก

บ้านไม้สีครีมยกพื้นสูงสามชั้นซ่อนตัวอยู่สุดซอยข้างวัดซางตาครู้ส เป็นพิพิธภัณฑ์บ้านที่บอกเล่าเรื่องราวของชาวโปรตุเกสในสยามได้อย่างลงตัว ด้วยการผสมผสานทั้งประวัติศาสตร์ไกลตัวกับใกล้ตัวเข้าด้วยกัน ทำให้เกิดความโดดเด่นแตกต่างไปจากพิพิธภัณฑ์บ้านและชาติพันธุ์แห่งอื่นๆ ในไทย     เมื่อ 4 ปีที่แล้ว คุณตอง-นาวินี พงศ์ไทย (ทรรทรานนท์) ได้...
history
7 กันยายน 2021

ทำไมการปรับปรุงวิชาประวัติศาสตร์จึงเป็นเรื่องยากเย็น

ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนรัฐบาลหรือรัฐประหาร ประวัติศาสตร์จะเป็นวิชาแรกๆ ที่รัฐมนตรีแทบทุกคนต้องการปรับปรุง ราวกับเป็นมิชชัน สาเหตุเป็นเพราะวิชานี้มีอำนาจในการกำหนดจิตสำนึกทางการเมืองและวิธีคิดต่อชนชั้นของคนในชาติ    แต่เหมือนโศกนาฏกรรม วิชาประวัติศาสตร์กลับเป็นวิชาที่ปรับปรุงล่าช้ามาก เช่นเดียวกับงบประมาณเพื่อพัฒนาบุคลากรก็ยังไม่มีอย...
Phaeng Pha Tham Lod
28 สิงหาคม 2021

ข้อค้นพบใหม่: ทุ่งสะวันนาเมืองไทยในยุคน้ำแข็ง ร่องรอยจากฟันสัตว์

คำถามเกี่ยวกับยุคน้ำแข็งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สำคัญคือ ‘ปัจจัยอะไรที่เอื้อให้มนุษย์ยุคหมื่นปีขึ้นไปสามารถเดินทางไปในเขตหมู่เกาะ พวกเขาอยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมแบบใด และทำไมเครื่องมือหินในยุคนั้นจึงไม่ค่อยพัฒนามากเมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นของโลก’   คำถามนี้คลี่คลายลงเมื่อทีมนักวิจัยด้านบรรพชีวินวิทยาและโบราณคดีชาวไทยร่วมกับต่างชาติได้ร่วม...

MOST POPULAR


Close Advertising