×

พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

20 เมษายน 2023

รถไฟความเร็วสูงกับผลกระทบต่อเมืองโบราณอโยธยา

การก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงเส้นกรุงเทพฯ-นครราชสีมา มีระยะทางช่วงหนึ่ง 13.3 กิโลเมตร จากสถานีบ้านโพมาถึงสถานีพระแก้ว ที่จะส่งผลกระทบต่อเมืองโบราณอยุธยาในส่วนที่เรียกกันว่า ‘อโยธยา’ ซึ่งขณะนี้นักวิชาการและภาคประชาสังคมหลายส่วนเป็นห่วงกัน   โครงการนี้ได้มีการทำประชาพิจารณ์ไปแล้ว 2 ครั้ง โดยครั้งล่าสุดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 เมษายนที่ผ่านมา เพื...
เมืองพระนคร กัมพูชา
11 เมษายน 2023

ความแห้งแล้ง หนึ่งปัจจัยที่ทำให้เมืองพระนครของกัมพูชาล่มสลาย

ไม่ใช่มีเพียงสงครามที่เป็นปัจจัยทำให้อาณาจักรใดอาณาจักรหนึ่งล่มสลาย แต่ภัยธรรมชาติก็เป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญยิ่ง ในช่วง 2-3 ปีมานี้กระแสของการศึกษาโบราณคดีเริ่มให้ความสำคัญกับประเด็นปัญหาร่วมสมัยกันมากขึ้น โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เนื่องจากความร้อนของโลกที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมต่างๆ อยู่ในภาวะเสี่ยง ไม่ว่า...
22 มีนาคม 2023

ความพินาศของโบราณสถานเมืองทวารวดีที่คูบัว ราชบุรี

การพัฒนาบ้านเมืองของไทยยังขาดการวางแผนควบคุมที่ดีพอ แหล่งมรดกวัฒนธรรมหลายแห่งถูกทำลาย หรือทำให้เสื่อมค่าไปอย่างน่าเสียดายในรอบไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา ‘คูบัว’ เป็นหนึ่งในเมืองทวารวดีที่ราชบุรีกำลังเผชิญกับปัญหานั้นอย่างหนัก    ที่ต้องเขียนเรื่องนี้ เพราะเมื่อไม่กี่วันก่อนผมได้ไปสำรวจโบราณสถานที่เมืองคูบัว จ.ราชบุรี เพื่อทำฐานข้อมูลแหล่ง...
พระพุทธรูปคือผู้หญิง
22 สิงหาคม 2022

พระพุทธรูปคือผู้หญิง ไม่จำเป็นต้องเป็นชาย และยังเกี่ยวพันกับลัทธิบูชาบรรพบุรุษ

มีอยู่วันหนึ่ง ผมเดินเข้าไปเที่ยวบริติช มิวเซียมที่กรุงลอนดอน มีเด็กคนหนึ่งถามแม่ว่า พระพุทธรูปนี้เป็นผู้ชายหรือผู้หญิง แม่ก็ตอบหนูน้อยว่า เป็นผู้ชาย เด็กคนนั้นก็บอกว่าเป็นผู้ชายแล้วทำไมไม่มีตรงนั้น แม่ก็ตอบไม่ได้ ซึ่งสำหรับผมแล้วก็ไม่ใช่เรื่องผิดปกติ เพราะทั้งสองเป็นชาวอังกฤษ สำเนียงมันบอก เดาว่าคงเป็นชาวคริสต์    เรื่องนี้ทำให้ผมต...
ประเพณีเลี้ยงดง
15 มิถุนายน 2022

งมงาย? ความเข้าใจต่อการฆ่าควายเลี้ยงผีปู่แสะ-ย่าแสะ ในประเพณีเลี้ยงดง

ความเข้าใจต่อวัฒนธรรมความเชื่อนั้นเป็นเรื่องละเอียดอ่อนและซับซ้อน คร่อมๆ กันอยู่ระหว่างคุณค่าเชิงวัฒนธรรมกับความงมงาย เมื่อไม่กี่วันมานี้มีประเพณีเลี้ยงดง หรือพิธีเลี้ยงผีปู่แสะ-ย่าแสะที่เชิงดอยคำ ใกล้ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นประเพณีที่จัดเป็นประจำทุกปีในช่วงราวเดือนมิถุนายนนี้ (คือในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 9 เหนือ) ปรากฏว่าเมื่อคนนำภาพไปลงใน...
เขาแดง เขาน้อย สงขลา
26 มีนาคม 2022

เสียงจากคนในและนักอนุรักษ์ในเมืองสงขลา กับปัญหาการบุกรุกพื้นที่โบราณสถาน

การทำลายพื้นที่เขาน้อย-เขาแดง เพื่อประโยชน์ของนายทุนและนักการเมืองท้องถิ่นในครั้งนี้ ถือว่าเป็นการสร้างบาดแผลทางใจให้กับสงขลามากทีเดียว เป็นที่ชัดเจนว่าสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ภูมิทัศน์ ถูกทำลาย โบราณสถานได้รับผลกระทบ จนน่ากังวลต่อการพังทลาย    ดินลูกรังที่ถูกตักไปขายเป็นจำนวนมากมายมหาศาล เท่าที่ประเมินกว่า 25 ล้านบาท เงินไปเข้ากระเป๋า...
เขาแดง สงขลา
5 มีนาคม 2022

บุกรุกเขาน้อย-เขาแดง คือความพินาศของภูมิวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของเมืองสงขลา

การบุกรุกทำลายพื้นที่รอบโบราณสถานโดยนายทุนและนักการเมืองเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทย ล่าสุดกรณีพื้นที่ของเขาน้อยและเขาแดง อ.สิงหนคร จ.สงขลา ซึ่งมีโบราณสถานสมัยศรีวิชัยเพียงไม่กี่แห่งในคาบสมุทรภาคใต้ กลุ่มโบราณสถานในสมัยอยุธยา ซึ่งสะท้อนรากเหง้าและตัวตนของสงขลา ถือเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรมชั้นยอด มีสภาพน่าเป็นห่วง ถูกบุกรุกจนเกือบประชิดโบราณสถาน โดยเฉพาะวั...
han dynasty
28 มกราคม 2022

มรดกเส้นทางสายไหมเริ่มแรก ร่องรอยหลักฐานของราชวงศ์ฮั่นในไทย

ประวัติศาสตร์ชาติมักอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนว่าเริ่มต้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 ซึ่งเพดานอายุสมัยนี้เป็นปัญหาของประวัติศาสตร์ชาติที่เน้นไปที่ชนชาติไทย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนเก่าแก่ไปกว่านั้นมาก ระยะหลังมานี้ หลักฐานจีนสมัยราชวงศ์ฮั่นพบในไทยมากขึ้นโดยเฉพาะในเขตภาคใต้ สะท้อนว่าไทยได้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางสายไหมมานานกว่าที่เคยเข้าใจกัน ...
non-textbook history
31 ธันวาคม 2021

‘ประวัติศาสตร์นอกตำรา’ กับของชำรุดในประวัติศาสตร์ไทย ชวนคุยกับ อดิศักดิ์ ศรีสม

ประวัติศาสตร์ในกระแสหลักเดินทางมาถึงจุดหักเหอีกครั้ง เมื่อถูกท้าทายด้วยสื่อสมัยใหม่ไม่ว่าจะเป็น Facebook, YouTube ซึ่งทุกคนสามารถผลิตและเผยแพร่ความรู้ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างอิสระ ทำให้สังคมมีทางเลือกต่อการรับรู้อดีตอีกชุดหนึ่ง ส่งผลทำให้อำนาจของการผูกขาดอดีตโดยรัฐไม่อาจยึดกุมสำนึกและความคิดของประชาชนได้ง่ายๆ อีกต่อไป      ...
National Museum thailand
24 ธันวาคม 2021

เดินทางในหลุมขุดค้น ตามหาบรรพชนคนไทย ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า โฉมใหม่

สถาปัตยกรรมรูปทรงสี่เหลี่ยมสีน้ำตาลแดงแปลกตา คล้ายกับงาน Cubic Architecture ตั้งอยู่ท่ามกลางไร่มันสำปะหลังนี้ คงไม่มีใครคิดว่านี่คือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า ซึ่งเรียกได้ว่าฉีกไปจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทุกแห่งในประเทศไทย และไม่ใช่แค่เพียงในแง่ของสถาปัตย์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงวิธีการเล่าเรื่องอีกด้วย    บ้านเก่าเป็นวัฒนธรรมยุคก่อ...

MOST POPULAR

X
Close Advertising