×

Amnesty

19 มิถุนายน 2018

ค้านโทษประหารทุกชีวิต ทุกกรณี

นักกิจกรรมแอมเนสตี้ ประเทศไทย สวมเสื้อสีดำยืนถือแผ่นป้ายข้อความแสดงความไม่เห็นด้วยกับโทษประหารชีวิต บริเวณด้านหน้าเรือนจำกลางบางขวาง จังหวัดนนทบุรี สืบเนื่องจากทางการไทยได้ประหารชีวิตชายอายุ 26 ปี ในคดีฆ่าผู้อื่นอย่างทารุณเพื่อชิงทรัพย์ ด้วยการฉีดยาสารพิษเมื่อ 18 มิถุนายน 2561 ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นการประหารชีวิตครั้งแรกในรอบ 9 ปี นับตั้งแต่เดือนสิงหาค...
19 มิถุนายน 2018

แอมเนสตี้ออกแถลงการณ์ ประณามการประหารชีวิตรอบ 9 ปีของไทย ชี้น่าละอาย

หลังเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2561 กรมราชทัณฑ์ดำเนินการบังคับโทษตามคำพิพากษาของศาลด้วยการประหารชีวิตนักโทษเด็ดขาดชายธีรศักดิ์ หลงจิ อายุ 26 ปี ผู้ต้องขังในคดีฆ่าผู้อื่นอย่างทารุณโหดร้ายเพื่อชิงทรัพย์ เหตุเกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2555 ที่จังหวัดตรัง   วันนี้ (19 มิ.ย.) แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ได้ออกแถลงการณ์คัดค้านการประหารชีวิตดังกล...
11 มิถุนายน 2018

เนติวิทย์ จากนักศึกษา ผู้ต้องหาคดี สู่กรรมการเยาวชนคนแรกของแอมเนสตี้ฯ ประเทศไทย

วันที่ 10 มิถุนายน 2561 อาจเป็นวันหยุดที่กรุงเทพฯ ฝนตกกระหน่ำอย่างหนักจนน้ำนองและรถติด แต่ในที่ประชุมย่านพระราม 9 การประชุมสามัญประจำปี 2018 ของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย องค์กรสิทธิมนุษยชนสากลระหว่างประเทศ ในส่วนประเทศไทย กลับเต็มไปด้วยความแข็งขันและคึกคัก ที่ไม่เพียงการมีส่วนร่วมระดมความเห็นวางแนวทางการขับเคลื่อนองค์กร แต่ยังเป็นวาระสำ...
23 พฤษภาคม 2018

แอมเนสตี้สากลเผย กลุ่มติดอาวุธชาวโรฮีนจาสังหารโหดชาวฮินดูเกือบ 100 ชีวิต หลังถูกกวาดล้างโดยกองทัพเมียนมา

องค์การแอมเนสตี้สากล เผยรายงานการตรวจสอบพบว่า อาร์ซา (Arsa) กลุ่มติดอาวุธชาวโรฮีนจา สังหารพลเรือนชาวฮินดูไปกว่า 99 คนเมื่อช่วงเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา หลังถูกกองทัพเมียนมากวาดล้างอย่างหนักจนเป็นเหตุให้มีชาวโรฮีนจาอพยพเดินทางออกนอกประเทศไปเกือบ 7 แสนคน     หลังจากที่แอมเนสตี้เข้าพื้นที่เก็บข้อมูลในค่ายผู้ลี้ภัยที่บังกลาเทศ รวมถึง...
12 เมษายน 2018

แอมเนสตี้เผย 142 ประเทศทั่วโลกไม่ประหารชีวิตแล้ว แต่ไทยยังคงใช้

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล เปิดรายงานสถานการณ์โทษประหารชีวิตและการประหารชีวิต ปี 2560 พบว่าการประหารชีวิตส่วนใหญ่ในโลกเกิดขึ้นในประเทศจีน อิหร่าน ซาอุดีอาระเบีย อิรัก และปากีสถาน ตามลำดับ ในอาเซียนมีสิงคโปร์ มาเลเซีย และเวียดนาม ที่มีการประหารชีวิตประชาชน ส่วนไทยยังคงเป็นหนึ่งใน 56 ประเทศที่ยังใช้โทษประหารชีวิตอยู่ ในขณะที่อีก 142 ประเทศทั่วโลกยกเ...
14 มีนาคม 2018

แอมเนสตี้เผย รมว.ต่างประเทศสหรัฐฯ คนใหม่ สนับสนุนการทรมานโดยเจ้าหน้าที่รัฐ ส่วน ผอ. CIA คนใหม่ เคยดูแลคุกลับทรมานนักโทษในไทย

หลังจากที่มีการปลดอดีตรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ อย่างนายเร็กซ์ ทิลเลอร์สัน (Rex Tillerson) อย่างกะทันหันวานนี้ พร้อมแต่งตั้งให้นายไมค์ ปอมเปโอ (Mike Pompeo) ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐฯ หรือ CIA เข้ารับตำแหน่งรัฐมนตรีต่างประเทศคนใหม่ และเสนอชื่อให้ จีนา ฮาสเปล (Gina Haspel) ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการหญิงคนแรกของ CIA   มาร์กาเรต หวง ...
8 ธันวาคม 2017

เผยนักปกป้องสิทธิฯ ทั่วโลกถูกสังหารเพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัว

เนื่องในโอกาส ‘วันสิทธิมนุษยชนสากล’ ซึ่งตรงกับวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี Amnesty International เผยแพร่รายงานเรื่อง ‘Deadly but Preventable Attacks: Killings and Enforced Disappearances of Those who Defend Human Rights’ หรือ ‘การโจมตีที่รุนแรงแต่สามารถป้องกันได้: การสังหารและการบังคับสูญหายต่อนักปกป้องสิทธิมนุษยชน’ โดยพบว่านักปกป้องสิทธิมนุษยชนอย่างน...
2 พฤศจิกายน 2017

อัยการสั่งไม่ฟ้อง 3 นักปกป้องสิทธิมนุษยชน ที่เปิดโปงการทรมานโดยเจ้าหน้าที่รัฐภาคใต้

     แอมเนสตี้ ประเทศไทย รายงานข่าวว่า สํานักงานอัยการจังหวัดปัตตานีสั่งไม่ฟ้องและยุติการดำเนินคดีหมิ่นประมาทต่อ พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ ผู้อำนวยการมูลนิธิผสานวัฒนธรรมและประธานแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย พร้อมนักกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชนอีก 2 คน สมชาย หอมลออ และอัญชนา หีมมิหน๊ะ กรณีถูกกองทัพฟ้องหมิ่นประมาทเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 25...
15 กันยายน 2017

Amnesty เผยข้อมูล วิกฤตโรฮีนจาในเมียนมาเข้าขั้น ‘ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์’

     ไม่มีใครรู้ว่าวิกฤตปัญหาโรฮีนจาในเมียนมาจะจบลงตรงไหน เพราะถึงเวลานี้ (15 กันยายน 2017) ตัวเลขชาวโรฮีนจาที่หนีตายออกจากตอนเหนือของรัฐยะไข่ เพื่อลี้ภัยไปยังบังกลาเทศพุ่งสูงถึง 370,000 คนแล้ว และไม่มีทีท่าว่าตัวเลขนี้จะหยุดนับง่ายๆ          ล่าสุดแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล (Amnesty International) ...
15 กันยายน 2017

ไทยควรโอบรับผู้ลี้ภัยในฐานะ ‘มนุษย์’ หรือ ‘พลเมืองชั้นสอง’

     สงครามกลางเมืองที่เกิดจากความขัดแย้งทางการเมือง ศาสนา ไปจนถึงเชื้อชาติ ทำให้เกิดการอพยพของ ‘ผู้ลี้ภัย’ ที่กลายเป็นประเด็นระดับโลก เพราะโลกปัจจุบันกำลังเผชิญสงครามกลางเมืองในซีเรีย เยเมน ความรุนแรงที่เกิดจากความขัดแย้งทางเชื้อชาติและศาสนาในเมียนมา ปากีสถาน ไปจนถึงบางประเทศในทวีปแอฟริกา ประชาชนจากรัฐที่เผชิญกับสงครามจึงหลบหนีมายัง...

Close Advertising