×

วุฒิสภา

วุฒิสภา หวั่น สถานการณ์ เมียนมา
9 เมษายน 2024

วุฒิสภาหวั่นสถานการณ์เมียนมารุนแรงขึ้น เสนอเพิ่มมาตรการรองรับผู้หนีภัยสงคราม สว. ถวิลย้ำ รัฐบาลไทยวางตัวเป็นกลาง ช่วยเหลือทุกฝ่ายเท่าเทียม ไม่ได้ชักศึกเข้าบ้าน

วันนี้ (9 เมษายน) ในการประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ 33 สมัยสามัญประจำปี ครั้งที่ 2 วาระพิจารณารายงานที่คณะกรรมาธิการการต่างประเทศ วุฒิสภา พิจารณาเสร็จแล้ว เรื่อง ผู้หนีภัยการสู้รบจากเมียนมา และผู้หนีภัยความไม่สงบจากเมียนมาในประเทศไทย โดย ถวิล เปลี่ยนศรี สมาชิกวุฒิสภา (สว.) ในฐานะอนุกรรมาธิการฯ ได้แถลงผลการรายงานว่า มีผู้ลี้ภัย 2 กลุ่มในศูนย์พักพิงชั่วครา...
19 มีนาคม 2024

สมัคร สว. ชุดใหม่ ใครกลุ่มไหนใน 20 กลุ่ม

สว. ชุดเก่า 250 คนที่ คสช. แต่งตั้งกำลังจะหมดวาระในวันที่ 10 พฤษภาคมนี้ เมื่อ สว. ชุดเก่าไป สว. ชุดใหม่ก็ต้องมา แต่มีได้เพียง 200 คนจากระบบเลือกกันเอง   พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (พ.ร.ป.) ว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2561 กำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะเป็น สว. ต้องมีคุณสมบัติเข้ากลุ่มหนึ่งกลุ่มใดดังนี้   อ่านรายละเอียด...
25 มกราคม 2024

สว. เตรียมส่งหนังสือถึง ครม. ขอเปิดอภิปราย ชี้แจงปัญหาการบริหารประเทศ

วันนี้ (25 มกราคม) ที่รัฐสภา (ฝั่งวุฒิสภา) พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานวุฒิสภา เป็นประธานการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการวุฒิสภา (วิปวุฒิสภา) โดยมีวาระการพิจารณาที่สำคัญ อาทิ ระเบียบวาระการประชุมวุฒิสภาในวันที่ 29 และ 30 มกราคม 2567 การพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ที่สภาผู้แทนราษฎรมีมติรับหลักการในวาระที่หนึ่ง ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดก...
27 ธันวาคม 2023

เปิดฉายาสภา ปี 2566 ‘สภาลวงละคร’ พิธาได้ ‘ดาวดับ’ ยก ‘เลือกนายกฯ (3 รอบ)’ เหตุการณ์แห่งปี

เปิดฉายาสภา ปี 2566 ‘สภาลวงละคร’ พิธาได้ ‘ดาวดับ’ ยก ‘เลือกนายกฯ (3 รอบ)’ เหตุการณ์แห่งปี   วันนี้ (27 ธันวาคม) ที่รัฐสภา ผู้สื่อข่าวรายงานว่าที่ประชุมร่วมกันของผู้สื่อข่าวประจำรัฐสภาได้มีความเห็นร่วมกันในการตั้งฉายาของรัฐสภาตลอดปี 2566    ทั้งนี้ การตั้งฉายาการทำงานของฝ่ายนิติบัญญัติ ทั้ง สส. และ สว. เป็นธรรมเนียมปฏิบัติ...
พฤฒสภา
24 พฤษภาคม 2023

24 พฤษภาคม 2489 – เลือกตั้ง ‘พฤฒสภา’ หรือต่อมาชื่อ วุฒิสภา เป็นครั้งแรก

ย้อนกลับไป 24 พฤษภาคม 2489 ถือเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีการเลือกตั้ง ส.ว. ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 โดยใช้ชื่อในขณะนั้นว่า ‘พฤฒสภา’   หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. 2475 ไทยได้เลือกรูปแบบการปกครองโดยมีเพียง ‘สภาเดี่ยว’ หรือสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น ก่อนจะมีการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 โดยเปลี่ยนจากระบบสภาเดี่ยวมาเป็นสภาคู่ ทำให้เกิด...
14 พฤษภาคม 2023

เลือกตั้ง 2566 : ประธานวุฒิสภา ใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส.

วันนี้ (14 พฤษภาคม) เมื่อเวลา 09.00 น. ที่หน่วยเลือกตั้งที่ 8 วัดทองนพคุณ แขวงคลองสาน เขตคลองสาน ศ.พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานวุฒิสภา เดินทางไปใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เป็นการทั่วไป...
29 สิงหาคม 2022

วุฒิสภาเห็นชอบเสนอชื่อ ‘นารี ตัณฑเสถียร’ เป็นอัยการสูงสุดหญิงคนแรกของประเทศ เจ้าของคดีเพชรซาอุ

วันนี้ (29 สิงหาคม) ที่ประชุมวุฒิสภาครั้งที่ 26 ได้มีมติให้ความเห็นชอบบุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งอัยการสูงสุด ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ. 2553 โดยมีการเสนอชื่อ นารี ตัณฑเสถียร อธิบดีอัยการ สำนักงานที่ปรึกษากฎหมาย ให้ดำรงตำแหน่งอัยการสูงสุด โดยผลการออกเสียงลงคะแนนปรากฏว่าให้ความเห็นชอบ 205 เสียง ไม่ให้ค...
เปิดไทม์ไลน์ พ.ร.บ.งบฯ ปี 66
24 สิงหาคม 2022

เปิดไทม์ไลน์ พ.ร.บ.งบฯ ปี 66 วงเงิน 3.185 ล้านล้านบาท

หลังจากสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบวาระ 3 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2566 วงเงิน 3,185,000 ล้านบาท โดยหลังจากนี้จะต้องส่งให้วุฒิสภาให้ความเห็นชอบภายใน 20 วัน และส่งให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อประกาศใช้ต่อไป   THE STANDARD เปิดไทม์ไลน์ร่าง พ.ร.บ.งบฯ ปี 2566     ภาพประกอบ: พิชามญชุ์ วรรณสาร...
พ.ร.บ.อุ้มหาย
10 สิงหาคม 2022

ส.ว. กลับมติ กมธ. ร่าง พ.ร.บ.อุ้มหาย หลังเสนอตัดความหมาย ‘กระทำที่โหดร้าย ย่ำยีศักดิ์ศรี’ ออกจากคำว่า ‘ผู้เสียหาย’

วานนี้ (9 สิงหาคม) การประชุมวุฒิสภา มีการพิจารณาการแก้ไขร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย รายมาตราในวาระที่ 2 ของวุฒิสภา หลังจากที่กรรมาธิการ (กมธ.) ไปพิจารณาแก้ไขรายละเอียดเพิ่มเติมจากที่สภาผู้แทนราษฎรได้ผ่านความเห็นชอบแล้ว ซึ่งมีการถกเถียงอย่างมากในมาตรา 3 ที่แก้ไข 2 ประเด็นคือ จากคำว่า ‘ผู้เสียหาย’ เป...
พฤฒสภา
24 พฤษภาคม 2022

24 พฤษภาคม 2489 – เลือกตั้ง ‘พฤฒสภา’ หรือวุฒิสภา เป็นครั้งแรก

ก่อนจะมี 250 สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน ย้อนกลับไปวันนี้เมื่อ 73 ปีที่แล้ว ถือเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีการเลือกตั้ง ส.ว. ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 โดยใช้ชื่อในขณะนั้นว่า ‘พฤฒสภา’   หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. 2475 ไทยได้เลือกรูปแบบการปกครองโดยมีเพียง ‘สภาเดี่ยว’ หรือสภาผู้แทนราษฎรเท่...

Close Advertising