×

ระบบนิเวศ

ศรีลังกา ไฟไหม้เรือสินค้า
31 พฤษภาคม 2021

จับตาวิกฤตระบบนิเวศทางทะเลศรีลังกา หลังเหตุไฟไหม้เรือสินค้านอกชายฝั่ง ทำขยะพลาสติกหลายตันเกลื่อนทะเล

กรณีเรือบรรทุกสินค้า X-Press Pearl สัญชาติสิงคโปร์ เกิดไฟไหม้นอกชายฝั่งกรุงโคลัมโบของศรีลังกา เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคมที่ผ่านมา กลายเป็นวิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางทะเลครั้งใหญ่ที่น่าจับตามอง   ผู้เชี่ยวชาญหลายคนประเมินว่าเหตุการณ์นี้อาจก่อผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเลของศรีลังการุนแรงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ เนื่องจากเรือลำนี้บรรทุกสารเคมีเป...
วิกฤตโควิด-19
7 เมษายน 2020

UNEP ชี้วิกฤตโควิด-19 ‘ไม่ใช่เรื่องน่ายินดี’ สำหรับสิ่งแวดล้อม

อิงเกอร์ แอนเดอร์สัน (Inger Andersen) ผู้อำนวยการโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) กล่าวว่า ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงและคุณภาพอากาศที่ดีขึ้น ในช่วงเวลาที่รัฐบาลของหลายประเทศกำลังรับมือกับการระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) ไม่ควรถูกมองว่า ‘เป็นประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม’   สหประชาชาติรายงานคำกล่าวขอ...
แม่น้ำแยงซี
18 มกราคม 2020

แม่น้ำแยงซี อาจไม่มีปลาหลงเหลืออยู่แล้ว

ส่องสถานการณ์สัตว์น้ำสูญพันธุ์ในแม่น้ำแยงซี หลังสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม ความหลากหลายทางชีวภาพตกต่ำ จนประธานาธิบดีสีจิ้นผิงกล่าวว่า อาจไม่มีปลาหลงเหลืออยู่แล้ว...
วันภูเขาสากล
11 ธันวาคม 2019

11 ธันวาคม 2003 วันภูเขาสากล (International Mountain Day)

ในปี 2003 องค์การสหประชาชาติกำหนดให้วันที่ 11 ธันวาคมของทุกปีเป็นวันภูเขาสากล เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของประเพณีและวัฒนธรรมของชาวเขาทั่วโลก รวมถึงการพัฒนาระบบนิเวศภูเขาอย่างยั่งยืน   ภูเขาถือเป็นต้นกำเนิดของสิ่งมีชีวิต เป็นแหล่งกำเนิดของแม่น้ำ และชุมชนชาวเขา ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้มีการปรับตัวให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติ การหาอาหาร การรักษาสิ่งแวด...
6 พฤศจิกายน 2019

สำรวจเขื่อนแม่น้ำโขง ระเบิดเวลาทำลายระบบนิเวศ 6 ประเทศ

สถานการณ์แม่น้ำโขงแห้งแล้งนับได้ว่าเป็นที่ช่วงวิกฤต หลังมีการรายงานถึงสภาพแหล่งน้ำที่เคยอุดมสมบูรณ์ในอดีต แต่ปัจจุบันกลายเป็นภาพแอ่งน้ำที่แห้งขอด หลายพื้นที่แล้งหนักถึงขั้นมีหาดทรายโผล่ขึ้นมาแทนที่ โดยสาเหตุอันดับแรกๆ ที่นักวิชาการส่วนใหญ่อ้างถึงคือการเกิดขึ้นของเขื่อนต่างๆ ที่มีอยู่บนเส้นแม่น้ำโขง   THE STANDARD พูดคุยกับ เพียรพร ดีเทศน...
Good Society Expo 2019
7 ตุลาคม 2019

ธรรมชาติรักษาได้เพียงแค่ ‘ลงมือทำ’ มูลนิธิเอ็นไลฟ ชวนร่วมงาน GSE 2019 ร่วมสร้างสังคมเมืองให้น่าอยู่ด้วยการจัดการ ‘ขยะ’

จากข่าวสถานการณ์วิกฤตทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ถือเป็นหนึ่งในสัญญาณที่กำลังส่งเสียงเตือนถึงมนุษย์ทุกคนให้มองเห็นผลการกระทำของมนุษย์ที่ส่งผลเสียถึงธรรมชาติแล้วในวันนี้    และทันทีที่พูดถึงสถานการณ์ทางธรรมชาติในปัจจุบัน จะรวย สิงห์ไพบูลย์พร จันทร์ทอง กรรมการมูลนิธิเอ็นไลฟ ได้ยกหนึ่งในเหตุการณ์ล่าสุดอย่าง ‘อ่าวม...
Loch Ness monster
7 กันยายน 2019

ทีมนักวิทยาศาสตร์นิวซีแลนด์คาด ‘เนสซี’ ในตำนานอาจเป็นเพียงปลาไหลยักษ์

เนสซี สัตว์ประหลาดแห่งทะเลสาบล็อกเนสส์ มีจริงตามตำนานเล่าขานหรือไม่ ยังไม่มีข้อสรุปเป็นเสียงเดียวกัน แต่ทฤษฎีใหม่ของทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยโอทาโกในนิวซีแลนด์ ระบุว่าสัตว์ประหลาดยักษ์ดังกล่าวอาจเป็นเพียงปลาไหลยักษ์   ทีมนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์นีล กิมเมลล์ นักพันธุศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโอทาโก เริ่มทำการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในล็อกเนส...
พลาสติกปนเปื้อนในหิมะอาร์กติก
15 สิงหาคม 2019

นักวิจัยพบอนุภาคพลาสติกปนเปื้อนในหิมะอาร์กติก

งานวิจัยตีพิมพ์ในวารสาร Science Advance เปิดเผยว่า คณะนักวิจัยเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ พบอนุภาคพลาสติกขนาดเล็กตกลงสู่พื้นดินพร้อมกับหิมะในคาบสมุทรอาร์กติก ซึ่งหมายความว่ามนุษย์มีโอกาสสูดไมโครพลาสติกเข้าไปในร่างกาย ถึงแม้ยังไม่มีข้อมูลบ่งชัดว่าจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพเพียงใด   ดร.เมลานี เบิร์กแมน นักนิเวศวิทยาจากสถาบัน Alfred Wegener วัดปริ...
ปัญหาโลกร้อน การทำประมง สารพิษตกค้างในอาหารทะเล
10 สิงหาคม 2019

งานวิจัยฮาร์วาร์ดพบ ปัญหาโลกร้อน-การทำประมงเกินขนาด อาจทำให้สารปรอทสะสมในปลาเพิ่มขึ้น

งานวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดพบว่าอุณหภูมิที่สูงขึ้นในมหาสมุทรและการทำประมงเกินขนาดอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปริมาณสารปรอทพิษในสัตว์ทะเลเพิ่มขึ้น เช่น ปลาคอด ปลาทูน่า ปลาแซลมอน    ทีมนักวิจัยศึกษาข้อมูลระบบนิเวศในอ่าวเมน (Gulf of Maine) ซึ่งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกาในช่วงปี 1970-2000 พบว่าในรอบ 30 ปีนั้นมีสารปรอทสะสมใน...


Close Advertising
X