×

ภัทราภา เวชภัทรสิริ

relationship between money happiness
9 ธันวาคม 2019

มีเงินเยอะแล้วจะมีความสุขจริงไหม ทำไมคนมีเงินเยอะบางคนถึงไม่มีความสุข

เวลาพูดถึงความสุขในยุคปัจจุบันก็อดไม่ได้ที่จะพูดถึงปัจจัยอะไรที่ทำให้เรามีความสุข ซึ่ง ‘เงิน’ ก็เป็นหนึ่งในคำตอบ    แม้ว่าหลายคนจะบอกว่า ‘เงิน’ ไม่ได้เป็นสิ่งที่ทำให้เรามีความสุขขนาดนั้นหรอก เพราะยังมีอีกหลายอย่างในชีวิตที่สำคัญกับเรามากกว่า   แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า ‘เงิน’ เป็น ‘สื่อกลาง’ ที่ทำให้เราไปถึงความสุขในรูปแบบต่าง...
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
4 พฤศจิกายน 2019

จูงใจหรือยัดเยียด ทำความรู้จักการใช้ Nudge วิธีสะกิดเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม

ผู้เขียนไปกินข้าวที่ร้านอาหารแห่งหนึ่งในลอนดอน ตอนจะจ่ายเงินพบว่าในบิลเรียกเก็บเงินมีรายการหนึ่งที่น่าสนใจมากคือ ‘เงินบริจาคจำนวน 1 ปอนด์’ (ประมาณ 39 บาท) ให้กับองค์กรการกุศลที่จะนำเงินไปช่วยเด็กๆ ที่ขาดแคลนอาหาร พร้อมแนบแผ่นพับเล็กๆ แนะนำว่าองค์กรนั้นทำอะไรบ้าง   การคิดเงินแบบนี้เป็นหนึ่งในวิธีการ Nudge (สะกิดให้เกิดพฤติกรรม) ที่เรียกว่...
Pain of paying
13 กันยายน 2019

ควักเงินสดมันเจ็บปวด รูดก่อนจ่ายทีหลังสบายใจกว่า รู้จักอาการ ‘เจ็บปวดจากการจ่าย’ พร้อมวิธีง่ายๆ ในการเซฟเงิน

เวลาไปซื้อของแล้วจ่ายด้วยบัตรเครดิต ความรู้สึกแตกต่างจากการจ่ายด้วยเงินสดกันไหมคะ    หลายคนอาจรู้สึกว่าเวลาใช้บัตรเครดิตจ่ายเงินแล้วทำให้ใช้เงินง่าย ไม่ค่อยเจ็บปวดเท่าไร แต่พอต้องควักเงินสดออกจากกระเป๋าสตางค์จะแอบมีความรู้สึกเจ็บปวดบางอย่าง มันไม่ใช่ความเจ็บปวดทางกายแบบเดินสะดุดหกล้ม แต่เป็นความรู้สึกปวดใจ ทั้งๆ ที่เป็นเงินมูลค่าเท่...
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
27 สิงหาคม 2019

อยากกิน อยากช้อป… แต่ก็อยากเก็บเงิน ความย้อนแย้งอันขมขื่นของชีวิตที่พิชิตได้ด้วยเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม

บอกกับตัวเองว่าอยากเก็บเงิน แต่อยู่ๆ ก็เกิดอาการอยากกินซูชิ อยากกินนี่นั่นโน่นเต็มไปหมด ถ้าให้ตอบตัวเองว่า “ก็อย่ากินสิ จะได้เก็บเงินได้” ก็คงจะขัดกับความรู้สึกของคนที่รักการกินอย่างเรา   ‘อยากกิน...แต่ก็อยากเก็บ’ น่าจะเป็นเหตุการณ์ที่หลายคนเคยเจอ ยิ่งปัจจุบันมีขนม เครื่องดื่ม อาหาร หรือสินค้าใหม่ๆ มานำเสนอให้ลองกินลองใช้ตลอด ทั้งจากเพื่...
Mental Accounting
23 สิงหาคม 2019

ทำไมข้าวไข่เจียวถึงดูแพงกว่าชาไข่มุกทั้งที่ราคาเท่ากัน? รู้จัก Mental Accounting บัญชีในใจที่ทำให้มูลค่าของแต่ละสิ่งไม่เท่ากัน

ระหว่างเดินเล่นอยู่ในห้างฯ เราบ่นกับตัวเองว่า    “ข้าวไข่เจียวราคา 80 บาท แพงจัง”   แล้วก็ก้มมองในมือตัวเองที่ถือชานมไข่มุกแก้วละ 80 บาทอยู่    เอ๊ะ! ทำไมเราไม่รู้สึกเลยว่าชาแพง แต่ทำไมเราถึงรู้สึกว่าข้าวไข่เจียวแพงล่ะ?    คิดๆ ไปก็คิดว่า Mental Accounting หรือบัญชีในใจ น่าจะตอบคำถามนี้ได้&...


Close Advertising