×

ประวัติศาสตร์

เหตุการณ์ 6 ตุลาคม
6 ตุลาคม 2020

เกิดอะไรขึ้นในเหตุการณ์มหาวิปโยค 6 ตุลาคม 2519

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ในฐานะนักประวัติศาสตร์และผู้อยู่ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ได้สรุปสาระสำคัญของเหตุการณ์นี้ไว้ในหนังสือ ‘ตุลา-ตุลา สังคม-รัฐไทย กับความรุนแรงทางการเมือง’ ไว้อย่างกระชับน่าสนใจ    ขณะที่ผ่านมาแล้ว 44 ปี ประวัติศาสตร์ได้บอกเราอย่างชัดเจนว่า หากผู้กระทำผิดไม่ถูกลงโทษ ก็จะมีความรุนแรงตามมา และอาชญากรรมรัฐก็จะดำเนินไป ชา...
27 กันยายน 2020

เดินสำรวจชุมชนโบราณ ค้นหาร่องรอยประวัติศาสตร์บนถนนเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี

เขตคลองสาน บนถนนเจริญนคร ตรงข้ามฝั่งแม่น้ำกับถนนเจริญกรุง อาจเป็นที่รู้จักสำหรับใครหลายๆ คนว่าเป็นที่ตั้งของไอคอนสยาม, ล้ง 1919 หรือ The Jam Factory แต่แท้จริงเส้นทางบนถนนสมเด็จเจ้าพระยานี้เต็มไปด้วยประวัติศาสตร์ที่ยังคงหลงเหลือร่องรอยให้น่าติดตามและค้นหา   วันเสาร์ที่ 26 กันยายน THE STANDARD ได้ทำการเดินสำรวจถนนเจ้าพระยาเพื่อเสาะหาร่องร...
24 กันยายน 2020

บันทึกอีกภาพประวัติศาสตร์ เริ่มต้นเคลื่อนย้ายโคมไฟระย้าทรงหยดนํ้าค้าง 5 ชั้นลงจากโรงภาพยนตร์สกาลา

THE STANDARD POP ยังคงติดตามเพื่อร่วมบันทึกประวัติศาสตร์ในช่วงสุดท้ายของ ‘สกาลา’ โรงภาพยนตร์สแตนด์อโลนที่โดดเด่น งดงามทางสถาปัตยกรรม ซึ่งผ่านกาลเวลาคู่สยามสแควร์มากว่า 50 ปี   แม้กระนั้นก็ตาม เมื่อมีช่วงเวลาดวงอาทิตย์ขึ้น ย่อมถึงเวลาอาทิตย์อัสดง โดยหลังจากผ่านกิจกรรม ‘La Scala ลาสกาลา’ Final Touch of Memory ซึ่งถือเป็นการเฉลิมฉลองครั้งสุ...
11 กันยายน 2020

เหตุผลที่ ‘พรีเมียร์ลีก 2020-21’ เป็นฤดูกาลที่โหดร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์

สุดสัปดาห์นี้ The Greatest Show on Earth อย่างฟุตบอลพรีเมียร์ลีกจะกลับมาเปิดม่านฤดูกาลกันอีกแล้ว แม้ว่าในความรู้สึกจะเหมือนกับฤดูกาลที่แล้วที่แสนยาวนานจะเพิ่งจบลงไปได้เพียงไม่นานก็ตาม   ที่เป็นเช่นนี้เพราะโควิด-19 ได้สร้างผลกระทบต่อโลกอย่างมากมายมหาศาลไม่เว้นแม้แต่ในเกมกีฬาอย่างโลกฟุตบอลที่ได้รับผลกระทบอย่างมากมายมหาศาล รวมถึงการแข่งขันฟ...
ไอ้ไข่ เด็กวัดเจดีย์ รูปปั้นไอ้ไข้ ปิดทอง
31 สิงหาคม 2020

‘ไอ้ไข่’ ลัทธิแห่งความหวัง และความร่ำรวย ของสังคมที่เต็มไปด้วยปัญหา

บทความนี้ไม่ได้มาใบ้เลขเด็ด แต่ต้องการชวนมองปรากฏการณ์ ‘ไอ้ไข่’ ว่าสะท้อนสังคมไทยได้อย่างไรบ้าง    ผู้คนหลายสิบคนในชุดขาววิ่งกรูไปยังรถยนต์ของพระรูปหนึ่ง เมื่อไปถึงหน้ารถ ชาวบ้านทุกคนต่างหยิบมือถือขึ้นมาเพื่อถ่ายรูปทะเบียนรถ นักข่าวย้ำว่าอีกวันสองวันนี้หวยจะออกแล้ว ภาพข่าวแช่ทะเบียนรถอยู่นาน นานพอที่จะให้คนจดจำได้ แล้วก็เล่าถึงเรื่อ...
โมเดล อนุเสาวรีย์ นิทรรศการที่มีชื่อว่า ‘ล่องรอยราชดำเนิน: นิทรรศการผสานวัย’ ที่มิวเซียมสยาม
26 สิงหาคม 2020

‘สรรพเสียง’ ของประชาชน ในนิทรรศการล่องรอยราชดำเนินฯ นิทรรศการที่ทำให้คนตัวเล็กมีตัวตนในประวัติศาสตร์

เสียงของประชาชนนั้นมักจะหายไปในประวัติศาสตร์บ้าง เพราะมันไม่ถูกให้ความสำคัญ แต่หลักๆ แล้วก็เป็นเพราะความเข้าใจต่อประวัติศาสตร์ของเรานั้นมันถูกฟอร์แมตมาว่าจะต้องเป็นเรื่องสำคัญต่อชาติ และเป็นเรื่องของวีรบุรุษหรือทรราชเท่านั้น    เกือบสองสัปดาห์ที่แล้ว ผมได้มีโอกาสไปเดินชมนิทรรศการที่มีชื่อว่า ‘ล่องรอยราชดำเนิน: นิทรรศการผสานวัย’ ที่ม...
มิวเซียมลำปาง
25 สิงหาคม 2020

รู้เรื่องลำปางให้ลึกซึ้งที่ ‘มิวเซียมลำปาง’

  พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้เมืองลำปาง หรือ มิวเซียมลำปาง คือพิพิธภัณฑ์ใหม่ล่าสุดของจังหวัดลำปาง ที่เพิ่งเปิดให้บริการเต็มรูปแบบเมื่อกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา หนึ่งในต้นแบบการสร้างสรรค์แหล่งเรียนรู้ในรูปแบบของพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ (Discovery Museum) ประเภทพิพิธภัณฑ์เมือง (City Museum) ในระดับจังหวัดลำปาง เช่นเดียวกับ มิวเซียมสยาม ที่เคยจัดแส...
17 สิงหาคม 2020

การหายไปของหมุดคณะราษฎร กับข้อถกเถียงว่านิยามของโบราณวัตถุคืออะไร

น้องคนหนึ่งที่เรียนจบโบราณคดีไปร่วมชุมนุมที่ราชดำเนินเมื่อวันที่ 16 สิงหาคมที่ผ่านมา ได้ชูป้ายหนึ่งที่เขียนว่า ‘โบราณคดี = สมบัติทุกคน ไม่ใช่เรื่องเฉพาะส่วนตน! หยุดลบประวัติศาสตร์ฝั่งเห็นต่าง หยุดบิดเบือนประวัติศาสตร์ หมุดคณะราษฎรหายอยากได้คืน’ เมื่อเห็นป้ายนี้ผมแทบจะปรบมือให้ เพราะช่างแหวกขนบของคนที่เรียนสายนี้เสียจริง   ย้อนกลับไปวันสง...
6 สิงหาคม 2020

เนติวิทย์ล่าชื่อค้านปลดรูป ‘สมเด็จ วิรุฬหผล’ นิสิตวีรชน 14 ตุลา คณบดีแจง ไม่ได้บิดเบือนประวัติศาสตร์

เนติวิทย์ระบุว่า ตอนนี้คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รื้อถอนภาพสมเด็จที่ติดอยู่ 40 กว่าปีแล้ว เป็นภาพที่แสดงให้นิสิตรุ่นหลังเห็นรุ่นพี่ที่เสียสละเพื่อส่วนรวมและประชาธิปไตย การรื้อถอนภาพ แม้ไม่ได้ตั้งใจ แต่คือการทำลายประวัติศาสตร์ของคณะและจุฬาฯ   เนติวิทย์โพสต์เพิ่มเติมว่า เมื่อสอบถามพี่ชายของสมเด็จ จึงทราบความว่า รศ.ดร.สิทธิเดช...
24 กรกฎาคม 2020

ความเป็นมาอนุสาวรีย์ลินคอล์น ที่ตอนแรกเกือบจะไม่ได้สร้าง

อนุสาวรีย์ลินคอล์นเป็นหนึ่งในแลนด์มาร์กที่สำคัญที่สุดของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. มีนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชมหลายล้านคนต่อปี การสร้างอนุสาวรีย์เพื่อเชิดชูเกียรติประธานาธิบดี อับราฮัม ลินคอล์น ผู้ล้มเลิกการค้าทาสได้สำเร็จ น่าจะเป็นเรื่องที่ตรงไปตรงมาและได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย แต่ในความเป็นจริงแล้ว อนุสาวรีย์ลินคอล์นในวิหารกรีกอันสง่างามที่เราเห็นกันทุกว...

Close Advertising