×

ถนอม กิตติขจร

17 พฤศจิกายน 2023

17 พฤศจิกายน 2514 – จอมพล ถนอม กิตติขจร ก่อการรัฐประหารตนเอง

เหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทยปี 2514 เป็นการรัฐประหารตนเองของ จอมพล ถนอม กิตติขจร เมื่อเวลา 19.00 น. ของวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514    สาเหตุสืบเนื่องจากการที่สมาชิกพรรคสหประชาไทยของ จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งในปี 2512 นำโดย ญวง เอี่ยมศิลา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี ได้เรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนต่างๆ ต...
6 ตุลา
6 ตุลาคม 2023

6 ตุลาคม 2519 – เหตุการณ์ 6 ตุลา โศกนาฏกรรมและบาดแผลประวัติศาสตร์การเมืองไทย

เหตุการณ์ 6 ตุลา หรือ ‘การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์’ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เป็นการปราบปรามอย่างรุนแรงถึงชีวิตของตำรวจและการลงประชาทัณฑ์ของกำลังกึ่งทหารและฝ่ายขวาจัด ต่อกลุ่มนักศึกษาและผู้ประท้วงฝ่ายซ้ายบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง    โดยเป็นการปิดฉากการประท้วง การเดินขบวน และการยึดพื้นที่...
14 ตุลาคม 2022

14 ตุลาคม 2516 – เผด็จการทหารสังหารนักศึกษา-ประชาชน

เหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2516 เมื่อนักเรียน นิสิต นักศึกษา ได้ร่วมกับประชาชนจำนวนนับแสนคนชุมนุมโดยสันติ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกร้องให้รัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจร, จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ. ณรงค์ กิตติขจร ปล่อยนักโทษการเมือง 13 คนที่ถูกจับกุมฐานเรียกร้องรัฐธรรมนูญ แต่ถูกแจ้งข้อหากบฏ แล...
6 ตุลา 2519
6 ตุลาคม 2021

6 ตุลา 2519 เหยื่อความรุนแรงในประวัติศาสตร์การเมืองไทย

เป็นเวลา 45 ปีที่จำนวนผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 ยังคงคลุมเครือ    การนองเลือดครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์ไทยครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ภายในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ จากการล้อมปราบนักศึกษาและประชาชนผู้ชุมนุมที่รวมกลุ่มต่อต้าน จอมพล ถนอม กิตติขจร   เวลา 05.30 น. ระเบิด M79 ลูกแรกได้...
22 พฤษภาคม 2020

ครบ 6 ปี คสช. พลเอก ประยุทธ์ หัวหน้าคณะรัฐประหารที่เป็นนายกฯ นานกว่า จอมพล สฤษดิ์

24 สิงหาคม 2557 ประกาศราชกิจจานุเบกษา พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้ง พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 29 ของไทย   พลเอก ประยุทธ์ ถือเป็นผู้นำคณะรัฐประหารคนที่ 5 ที่ยึดอำนาจเข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีเสียเอง และปัจจุบันก็ดำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการมาครบ 4 ปีเต็ม   THE STANDARD ขอพาย้อนอดีตสำรวจที่มาและจุดจบของหัวหน้าคณ...
รัฐประหาร
19 กันยายน 2019

ประวัติศาสตร์การเมืองไทยกับรัฐประหารที่ลงมือสำเร็จ 13 ครั้ง

    วันนี้ (22 พฤษภาคม) ถือเป็นวันครบรอบ 7 ปี เหตุการณ์รัฐประหารปี 2563 ที่ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยึดอำนาจรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร   THE STANDARD รวบรวมข้อมูลเหตุการณ์รัฐประหารตลอด 13 ครั้งที่ผ่านมา ว่าแต่ละเหตุการณ์เกิดเมื่อไร และใครเป็นผู้นำในการรัฐประหารแต่ละครั้ง   1. 1 เมษายน พ.ศ. 2476 พระยามโน...
3 กันยายน 2018

วงศ์เทวัญคัมแบ็ก! ขึ้นตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกในรอบ 15 ปี

การขึ้นสู่ตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกของ พลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์ จากนายทหารสายวงศ์เทวัญ (กองพลที่ 1 รักษาพระองค์) ถือเป็นการได้รับความไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งนี้ครั้งแรกในรอบ 15 ปี ในการแต่งตั้งโยกย้ายนายทหารประจำปี 2561 และนี่คือข้อมูลที่น่าสนใจ     ภาพประกอบ: Thiencharas.w...
7 สิงหาคม 2017

เปิดงานวิจัย ‘จุดเด่น-จุดด้อย’ 8 นายกฯ ไทยที่เกิดเดือนสิงหา และชะตากรรมบนถนนการเมือง

     เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 นอกจากจะเป็นเดือนที่ปฏิทินการเมืองร้อนระอุแล้ว ยังเป็นเดือนเกิดของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยถึง 8 คน      THE STANDARD ค้นงานวิจัยรวมทั้งข้อเขียนบทวิเคราะห์ต่างๆ ที่พูดถึงบุคลิกที่โดดเด่นของอดีตนายกฯ ทั้ง 8 คนที่บังเอิญมีเดือนเกิดตรงกัน ซึ่งแต่ละคนล้วนมีจุดแข็งและความน่าสนใจที่แตกต่างกันออกไป ...

Close Advertising