×

การฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม

ธนาคารออมสิน
21 กรกฎาคม 2023

‘ออมสิน’ ตั้งเป้าปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2050 เผยการดำเนินธุรกิจด้วย ESG สร้าง Social Impact แล้วกว่า 5.5 หมื่นล้านบาท

วิทัย รัตนากร ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน เปิดเผยว่า ธนาคารอยู่ระหว่างการเตรียมประกาศเป้าหมาย GSB Net Zero Target อย่างเป็นทางการ โดยตั้งเป้าลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากกว่า 50% ภายในปี 2030 และเป็นศูนย์ภายในปี 2050   วิทัยกล่าวอีกว่า ธนาคารออมสินเป็นธนาคารเพื่อสังคมที่ดำเนินการโดยใช้แนวคิด ESG เป็นกรอบการดำเนินธุรกิจ มุ่งสร้าง Social I...
TOA
30 มิถุนายน 2023

TOA มุ่งดำเนินธุรกิจสีเขียว ตั้งเป้าหมายปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี 2050

ภาณุพงศ์ ภูทะวัง ผู้จัดการอาวุโสหน่วยงานวางแผนกลยุทธ์องค์กรและความยั่งยืน บริษัท ทีโอเอ เพ้นท์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) หรือ TOA เป็นตัวแทนบริษัทเข้ารับใบประกาศรับรองคาร์บอนฟุตพรินต์ขององค์กร Carbon Footprint for Organization (CFO) เป็นปีที่ 4 และคาร์บอนฟุตพรินต์ของผลิตภัณฑ์ Carbon Footprint of Product (CFP) ประจำปี 2023 จาก เกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผ...
อังกฤษเตรียมแบนรถยนต์เบนซิน-ดีเซลบนถนนตั้งแต่ปี 2030 มุ่งลดคาร์บอนจนเป็นศูนย์
19 พฤศจิกายน 2020

อังกฤษเตรียมแบนรถยนต์เบนซิน-ดีเซลบนถนนตั้งแต่ปี 2030 มุ่งลดคาร์บอนจนเป็นศูนย์

สหราชอาณาจักรจะห้ามการจำหน่ายรถยนต์และรถตู้ใหม่ที่ใช้เครื่องยนต์เบนซินและดีเซลตั้งแต่ปี 2030 ซึ่งเร็วขึ้นจากแผนเดิม 5 ปี ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรีบอริส จอห์นสัน ที่ต้องการลดการปล่อยคาร์บอนจนเป็นศูนย์ภายในปี 2050   “ตอนนี้ถึงเวลาแล้วที่จะวางแผนฟื้นฟูสภาพแวดล้อมด้วยงานทักษะสูง ซึ่งจะทำให้ผู้คนพึงพอใจที่ได้รับรู้ว่าพวกเขากำลังช่วยให้ประเทศสะ...
10 มิถุนายน 2019

Iron Man มาเอง! Robert Downey Jr. เตรียมทุ่มเงินพัฒนา AI ช่วยคืนชีพสิ่งแวดล้อม

ไม่ได้รับบทแค่ซูเปอร์ฮีโร่ในจักรวาลมาร์เวลเพียงอย่างเดียว ล่าสุด โรเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์ ก็เดินตามรอยนักแสดงฮอลลีวูดสายรักษ์โลกคนอื่นอย่าง ลีโอนาร์โด ดิคาปริโอ ด้วยการเปิดตัวโปรเจกต์ที่ใช้ชื่อว่า The Footprint Coalition เพื่อลงทุนในเทคโนโลยีที่ช่วยฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมให้กลับมาดีเช่นเดิม   ที่มา: Editorial   ในงานสัมนา re:MARS ที่จัดโด...
15 กุมภาพันธ์ 2018

คืนต้นไม้สู่ป่า คืนป่าสู่น่าน น้ำพางโมเดล บทพิสูจน์ความยั่งยืนจากมือประชาชน

สภาพภูเขาหัวโล้น ที่เกิดจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ซึ่งเป็นอาชีพหลักของเกษตรกร ต.น้ำพาง อ.แม่จริม จ.น่าน เป็นภาพที่เห็นแล้วชวนให้เราสงสัยว่าเกิดอะไรขึ้นที่นี่ พร้อมๆ กับมีคำถามว่าจะทำอย่างไรให้พื้นที่สีเขียวเหล่านั้นกลับมามีชีวิตอีกครั้ง   THE STANDARD เดินทางลงพื้นที่ ต.น้ำพาง เพื่อหาสาเหตุและความเป็นมาของปัญหาที่เกิด รวมทั้งร่วมหาคำตอบว่า...

Close Advertising