×

เศรษฐกิจญี่ปุ่น

เศรษฐกิจญี่ปุ่น
15 สิงหาคม 2022

GDP ญี่ปุ่นไตรมาสที่ 2 ขยายตัว 0.5% สูงกว่าระดับก่อนโควิดเป็นที่เรียบร้อย หลังรัฐบาลผ่อนคลายมาตรการคุมเข้ม

เศรษฐกิจญี่ปุ่น ในไตรมาสที่ 2 ขยายตัว 0.5% จากไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากรัฐบาลญี่ปุ่นผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดโควิด นับว่าเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว เมื่อเทียบกับไตรมาสแรกของปีนี้ที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นโต 0.0%   ตัวเลขเบื้องต้นที่เผยแพร่โดยสำนักงานคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่นในวันนี้ (15 สิงหาคม) แสดงให้เห็นว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของญี่ปุ่นใน...
เศรษฐกิจญี่ปุ่น
8 สิงหาคม 2022

ญี่ปุ่น ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดครั้งแรกในรอบ 5 เดือน หลังราคาพลังงานและวัตถุดิบดันมูลค่าการนำเข้าแซงหน้าการส่งออก

ญี่ปุ่น เผชิญการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดครั้งแรกในรอบ 5 เดือน หลังราคาพลังงานและวัตถุดิบ รวมถึงค่าเงินเยนที่อ่อน ทำให้มูลค่าการนำเข้าแซงหน้าการส่งออก   ข้อมูลจากทางการญี่ปุ่นระบุว่า ในเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาญี่ปุ่นขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 1.32 แสนล้านเยน หรือ 980 ล้านดอลลาร์ นับเป็นการขาดดุลครั้งแรกของญี่ปุ่นนับจากเดือนมกราคมที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี...
Japan Economy
7 กันยายน 2021

ชมคลิป: วิเคราะห์ ‘หุ้นญี่ปุ่น’ พุ่งแรง หวังรัฐบาลใหม่เร่งอัดงบกระตุ้นเศรษฐกิจ | Morning Wealth 7 กันยายน 2564

วิเคราะห์ ‘หุ้นญี่ปุ่น’ หลังพุ่งแรงรับนายกรัฐมนตรีลาออก หวังรัฐบาลใหม่เร่งอัดงบกระตุ้นเศรษฐกิจ นักวิเคราะห์ประเมินอย่างไร   ติดตามรายการ Morning Wealth ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 07.00-08.00 น. ทาง Facebook และ YouTube ของ THE STANDARD WEALTH...
Tokyo2020
7 สิงหาคม 2021

Tokyo 2020 ทำเศรษฐกิจญี่ปุ่น ‘เจ็บ’ แค่ไหน? กับการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกเกมส์ที่ขอบสนามโล่งที่สุดในประวัติศาสตร์

ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจนจริงๆ สำหรับคำถามว่า การเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาระดับโลกอย่างโอลิมปิกเกมส์นั้นมีข้อดีทางเศรษฐกิจจริงไหม? ยิ่งเมื่อได้เห็นความรกร้างของสิ่งก่อสร้าง สนามกีฬา รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ในประเทศที่เคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกอย่างประเทศบราซิลและจีน   อีกตัวอย่างที่สำคัญคือวิกฤตหนี้ที่เกิดขึ้นในกรีซ ซึ่งผู้...
Tokyo2020
6 สิงหาคม 2021

ชมคลิป: ‘เจ็บ’ แค่ไหน? โอลิมปิกเกมส์ โตเกียว 2020 กับการเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกที่ขอบสนามโล่งที่สุดในประวัติศาสตร์

การเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาระดับโลกอย่างโอลิมปิกเกมส์นั้นมีข้อดีทางเศรษฐกิจจริงหรือ?    คำถามนี้ยังเป็นที่กังขาและถูกจับตามองมากขึ้นหลังจากเปิดฉาก โอลิมปิกเกมส์ โตเกียว 2020 ถึงความเสี่ยงของ ‘เศรษฐกิจญี่ปุ่น’ ประเทศเจ้าภาพโอลิมปิกที่ขอบสนามโล่งที่สุดในประวัติศาสตร์   ข่าวที่เกี่ยวข้อง: นาโอมิ โอซากะ จุดคบเพลิงโอล...
เศรษฐกิจญี่ปุ่นหดตัว 4.8% ในปี 2020 ผลจากวิกฤตโควิด-19
15 กุมภาพันธ์ 2021

เศรษฐกิจญี่ปุ่นหดตัว 4.8% ในปี 2020 ผลจากวิกฤตโควิด-19

ทางการญี่ปุ่นเปิดเผยตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ประจำปี 2020 ซึ่งแม้จะขยายตัวในไตรมาส 4 แต่ผลกระทบจากโควิด-19 ก็ไม่อาจช่วยให้เศรษฐกิจรอดพ้นจากภาวะติดลบในภาพรวมตลอดทั้งปีได้   ในช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคมปีที่แล้ว เศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคงเติบโตต่อเนื่องที่ระดับ 3% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2019 แต่เป็นอัตราที่ช้าลงจากไตรมาสที่...
18 พฤษภาคม 2020

หดตัว 2 ไตรมาสติด เศรษฐกิจญี่ปุ่นเข้าสู่ภาวะถดถอย GDP ติดลบ 0.9% ใน Q1/2020

เศรษฐกิจญี่ปุ่นเข้าสู่ภาวะถดถอยทางเทคนิค โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) หดตัว 0.9% ในไตรมาสแรกของปี 2020 (มกราคม-มีนาคม) เมื่อเทียบกับไตรมาสสุดท้ายของปี 2019 (QoQ) โดยวิกฤตโควิด-19 ทำให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นย่ำแย่ลง จากที่ GDP ติดลบอยู่แล้วในไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม การหดตัวดังกล่าวยังต่ำกว่าตัวเลขคาดการณ์ของนักวิเคราะห์จากโพล Refinitiv ที่คาดว่าจะต...
8 เมษายน 2020

ญี่ปุ่นออกมาตรการอัดฉีดเศรษฐกิจรับมือผลกระทบโควิด-19 มูลค่าเกือบ 1 ล้านล้านดอลลาร์

ชินโซ อาเบะ นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น อนุมัติแพ็กเกจอัดฉีดเศรษฐกิจมูลค่า 108 ล้านล้านเยน (ประมาณ 9.9 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพื่อบรรเทาผลกระทบจากวิกฤตการระบาดของโควิด-19 โดยงบประมาณฉุกเฉินนี้เทียบเท่า 20% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของญี่ปุ่น คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าแพ็กเกจอัดฉีดของสหรัฐฯ ที่มีขนาดเทียบเท่า 11% ของ GDP และงบประมาณอัดฉีดมูลค่า 5% ของ GDP เยอร...
ภาษีบริโภค
1 ตุลาคม 2019

ญี่ปุ่นปรับขึ้น ‘ภาษีบริโภค’ จาก 8% เป็น 10% ความเสี่ยงที่รัฐบาลต้องรับมือ เพราะอาจนำมาซึ่ง ‘ภาวะถดถอย’ ทางเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจของแดนซามูไรซึ่งใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของโลกกำลังเผชิญกับการทดสอบที่สำคัญซึ่งอาจส่งผลต่อเส้นทางการเติบโตที่ ‘เปราะบาง’ โดยที่ทุกสายตาต่างจับจ้องไปที่ ‘ความเชื่อมั่นผู้บริโภค’ ซึ่งเป็นตัวแปรหลัก   ขึ้นภาษีบริโภคจาก 8% เป็น 10%  1 ตุลาคม 2019 เป็นวันแรกที่ภาษีบริโภคของญี่ปุ่น หรือ Consumption Tax ซึ่งที่ประเทศไทยเรียกว่า VAT ...
ญี่ปุ่นส่งออกหดตัว
19 สิงหาคม 2019

ญี่ปุ่นส่งออกหดตัว 8 เดือนติดต่อกัน เหตุดีมานด์ในจีน-เอเชียชะลอตัว คาดปัญหาขัดแย้งกับเกาหลีใต้กดดันภาคส่งออกต่อ

กระทรวงการคลังญี่ปุ่นเปิดเผยยอดส่งออกหดตัว 1.6% ในเดือนกรกฎาคมเมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเป็นการติดลบ 8 เดือนติดต่อกัน หลังการส่งออกเครื่องจักรผลิตชิปและชิ้นส่วนรถยนต์ปรับตัวลดลง ซึ่งสะท้อนภาวะชะลอตัวของดีมานด์ในจีนและหลายประเทศในเอเชีย   อย่างไรก็ตาม ตัวเลขดังกล่าวยังดีกว่าโพลสำรวจนักเศรษฐศาสตร์ของ FactSet ที่คาดว่าจะ...

Close Advertising