×

องค์การอนามัยโลก (WHO)

transgender
27 พฤษภาคม 2019

องค์การอนามัยโลกยกเลิก ‘การข้ามเพศ’ เป็นความบกพร่องทางจิตอย่างเป็นทางการ เพิ่ม ‘โรคติดเกม’ ขึ้นบัญชีแทน

เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ที่ประชุมใหญ่องค์การอนามัยโลกมีมติยกเลิกให้ ‘การข้ามเพศ (Transgenderism)’ เป็นอาการของความบกพร่องทางจิตอย่างเป็นทางการ ในคู่มือวินิจฉัยและจัดประเภทของโรคระหว่างประเทศ (The International Classification of Diseases) หรือ ‘ICD-11’ ซึ่งจัดหมวดหมู่ใหม่ให้อยู่ในกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทางเพศแทน โดยเรียกว่า ‘ความไม่สอดคล้องทางเ...
25 เมษายน 2019

อนามัยโลกแนะ เด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบไม่ควรอยู่หน้าจอนานเกิน 1 ชั่วโมงต่อวัน

องค์การอนามัยโลกให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยระบุว่า เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ขวบไม่ควรเล่นโทรศัพท์มือถือ หรืออยู่หน้าจอแท็บเล็ตนานเกิน 1 ชั่วโมงต่อวัน โดยเฉพาะเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 3 ขวบ ควรหลีกเลี่ยงการอยู่หน้าจอเลยถ้าเป็นไปได้   พร้อมเน้นย้ำว่า ปฏิสัมพันธ์ซึ่งหน้าระหว่างบุคคล สกิลการอยู่ร่วมกันในสังคม การฝึกกร...
โรคหัด
16 เมษายน 2019

โรคหัดแพร่ระบาดทั่วสหรัฐฯ อาจรุนแรงสุดในรอบ 25 ปี กรมการกงสุลเตือนคนไทยที่จะไปนิวยอร์กในช่วงนี้

ทางการสหรัฐฯ เปิดเผยว่าพบผู้ป่วยโรคหัดเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลแล้วถึง 555 ราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนเกือบ 100 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ส่วนใหญ่เป็นพลเมืองที่อาศัยอยู่ในรัฐนิวยอร์ก กระทรวงสาธารณสุขคาด การแพร่ระบาดของโรคหัดนี้อาจรุนแรงที่สุดในรอบ 25 ปี นับตั้งแต่ปี 1994 ซึ่งมีผู้ป่วยราว 963 ราย   ขณะนี้มีรายงานการพบผู้ป่วยโรคหัดแล้วกว่า 20 รัฐ ก...
องค์การอนามัยโลก
7 เมษายน 2019

7 เมษายน – วันอนามัยโลก

องค์การสหประชาชาติกำหนดให้วันที่ 7 เมษายนของทุกปี เป็นวันอนามัยโลก หรือ World Health Day เพื่อใช้เป็นโอกาสรณรงค์กับสมาชิกทุกประเทศให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพ ตั้งแต่การควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหาสุขภาพ และส่งเสริมด้านสุขภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม   สำหรับวันอนามัยโลก 2019 องค์การอนามัยโลกมุ่งเน้นสื่อสารภายใต้แคมเปญ Health for ...
6 กุมภาพันธ์ 2019

‘ปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินสู่การพัฒนาระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้า’ ส่องยุทธศาสตร์ต่อสู้มลพิษฝุ่น PM2.5 ของจีนที่อาจเป็นต้นแบบของโลก

ความศิวิไลซ์ของมนุษย์มักต้องแลกมาด้วยต้นทุนทางธรรมชาติอันประเมินค่าไม่ได้ จากอดีตกาลจนถึงปัจจุบัน เราพบว่ามนุษย์ยังคงทำผิดพลาดซ้ำแล้วซ้ำเล่าโดยไม่เรียนรู้บทเรียนจากผลเสียของการทำลายธรรมชาติ   ท่ามกลางปัญหาหมอกพิษที่กำลังรุมเร้าหลายภูมิภาคทั่วโลกอยู่ในขณะนี้ หลายประเทศเพิ่งตระหนักกับปัญหามลพิษอย่างจริงจัง ขณะที่หลายประเทศเพิ่งเริ่มตระหนัก...
23 มกราคม 2019

คนจีนไม่มีความสุข สวนทางกับมลพิษในอากาศที่เพิ่มขึ้น

ไม่ใช่แค่ประเทศไทย แต่ปัญหามลพิษในจีนก็กำลังทำให้คนจีนไม่มีความสุข ในชุมชนเมืองที่แออัด ปัญหาฝุ่น PM2.5 สร้างความเครียดให้คนเมืองเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากราคาที่อยู่อาศัยแพง อาหารไม่ปลอดภัย และปัญหาสวัสดิการ องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า แต่ละปีมีประชาชนกว่า 1 ล้านคนในจีน เสียชีวิตก่อนวัยอันควร สืบเนื่องจากมลพิษในอากาศ...
18 มกราคม 2019

คิดให้ดีก่อนซื้อกิน ‘ฉลาดซื้อ’ พบตะกั่ว-แคดเมียมปนเปื้อน ‘สาหร่ายทะเลอบกรอบ’ 11 ใน 13 ตัวอย่าง

ศูนย์ทดสอบฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค แถลงผลทดสอบจากการสุ่มซื้อผลิตภัณฑ์สาหร่ายทะเลอบกรอบจำนวน 13 ตัวอย่าง ใน 12 ยี่ห้อ เพื่อตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของโลหะหนัก ได้แก่ ตะกั่วและแคดเมียม   นางสาวมลฤดี โพธิ์อินทร์ นักวิชาการด้านอาหาร มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค เปิดเผยว่า ผลการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของตะกั่วในกลุ่มตัวอย่างผลิตภัณฑ์สาหร่ายอบ...
15 มกราคม 2019

เปิดสถิติ มลพิษทางอากาศ อันตรายกว่าที่คุณคิด

ขณะนี้ประเทศไทยในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครกำลังเผชิญหน้ากับปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 มลพิษทางอากาศที่สามารถส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพตามมาได้ในระยะเวลาอันสั้น โดยฝุ่นละออง PM2.5 ในกรุงเทพฯ นี้ ส่วนใหญ่เกิดจากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซล การเผาไหม้ในที่โล่งแจ้ง รวมถึงฝุ่นที่เกิดจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมและถูกลมพัดพามาจากพื้นที่อื่นๆ ...
20 ธันวาคม 2018

รายงานองค์การอนามัยโลกเผย คนไทยตายบนถนนลดลง แต่ยังครองแชมป์อันดับ 1 ในเอเชีย

องค์การอนามัยโลก พร้อมผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทางถนน ร่วมแถลงข่าวรายงานสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนนโลกปี 2018 ระบุว่า ประมาณการเสียชีวิตจากภัยบนท้องถนนของประเทศไทยปี 2018 อยู่ที่ 22,491 ราย คิดเป็น 32.7 คนต่อประชากร 1 แสนคน ซึ่งตัวเลขดังกล่าวลดลงจากรายงานในปี 2015 ที่ประมาณการผู้เสียชีวิต 24,237 ราย คิดเป็น 36.2 คนต่อประชากร 1 แสนคน   ...
30 พฤศจิกายน 2018

อีโบลาระบาดหนักในคองโก ยอดผู้ติดเชื้อ-เสียชีวิตสูงเป็นอันดับ 2 ในประวัติศาสตร์

วิกฤตการณ์แพร่ระบาดของไวรัสอีโบลาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกยังน่าวิตก ล่าสุดพบผู้ป่วยติดเชื้อแล้ว 426 คน จำนวนนี้เสียชีวิต 245 คน ซึ่งเป็นตัวเลขผู้ติดไวรัสและเสียชีวิตที่มากเป็นอันดับ 2 ในประวัติศาสตร์ แซงหน้าวิกฤตอีโบลาระบาดในประเทศยูกันดาเมื่อปี 2000-2001 ซึ่งครั้งนั้นมีผู้ติดเชื้อ 425 คน และเสียชีวิต 224 คน   กระทรวงสาธารณสุขคองโกเปิ...

Close Advertising