×

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

จันทรุปราคาบางส่วน
28 ตุลาคม 2023

เช้ามืด 29 ต.ค. วันออกพรรษา เกิดจันทรุปราคาบางส่วน เหนือฟ้าประเทศไทย สังเกตได้ตั้งแต่ 02.35 น.

วันนี้ (28 ตุลาคม) เพจเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ระบุว่า ในวันที่ 29 ตุลาคม 2566 ซึ่งตรงกับดวงจันทร์เต็มดวงในเช้าวันออกพรรษา จะเกิดปรากฏการณ์ ‘จันทรุปราคาบางส่วน’ ในช่วงเช้ามืด สังเกตได้บริเวณทวีปยุโรป, เอเชีย, ออสเตรเลีย, แอฟริกา, อเมริกาเหนือ, อเมริกาใต้, แปซิฟิก, แอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย, อาร์กติก และแอนตาร์กติกา  &nbs...
นักเรียนตาบอด ดาราศาสตร์
22 กรกฎาคม 2023

NARIT เปิดท้องฟ้าจำลอง จัดกิจกรรมศึกษาดาราศาสตร์สำหรับนักเรียนตาบอด

ถ้าดวงตาไม่อาจมองเห็นดวงดาวได้ การศึกษาดาราศาสตร์จะเป็นไปได้เช่นไร?   สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT เปิดท้องฟ้าจำลองและพื้นที่อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร จัดกิจกรรมค่ายส่งเสริมโอกาสการเรียนรู้ดาราศาสตร์สำหรับผู้บกพร่องทางการมองเห็น ให้กับนักเรียนจากโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่   โดยกิจ...
เขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืด
18 กรกฎาคม 2023

เขาใหญ่, แม่วงก์, ดอยเสมอดาว และอีก 15 แห่ง ขึ้นทะเบียน ‘เขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืด’ แหล่งดูดาวแห่งใหม่ของไทย

เราดีใจที่เห็นโปรเจกต์นี้เดินหน้าต่อ เพราะเมืองไทยจะได้มีแหล่งดูดาวมากขึ้นไปอีก   การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ประกาศรายชื่อเขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืด หรือ Amazing Dark Sky #Season 2 แห่งใหม่อีก 18 แห่ง โดยเป็นพื้นที่อุทยานท้องฟ้ามืด (Dark Sky Park) 5 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ (ลานชมดาว), อุทยานแห่งชาติตา...
วันครีษมายัน
21 มิถุนายน 2023

วันครีษมายัน สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติเผย วันนี้กลางวันยาวที่สุดในรอบปี 12 ชั่วโมง 56 นาที

วันนี้ (21 มิถุนายน) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) เปิดเผยว่า วันนี้เป็นวันครีษมายัน (ครีด-สะ-มา-ยัน) (Summer Solstice) ซึ่งเป็นวันที่เวลากลางวันยาวที่สุดในรอบปี โดยดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด จึงเป็นวันที่มีช่วงเวลากลางวันยาวที่สุด กลางคืนสั้นที่สุดของปี และนับเป็นวันที่ป...
วันไร้เงา ดวงอาทิตย์ตั้งฉาก
27 เมษายน 2023

‘วันไร้เงา’ ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพฯ ครั้งแรกของปี 2566

วันนี้ (27 เมษายน) ทีมช่างภาพข่าว THE STANDARD ลงพื้นที่ย่านอโศก ถนนอโศกมนตรี ช่วงเวลาประมาณ 12.16 น. เพื่อเก็บภาพดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพมหานคร ครั้งแรกของปี 2566 ซึ่งปรากฏการณ์นี้จะทำให้วัตถุกลางแดดดูเสมือนไร้เงา เนื่องจากเงาจะตกอยู่ใต้วัตถุพอดี    ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ดวงอาทิตย์จะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตั้งฉากกับประเทศไทย เริ่มจ...
3 มีนาคม 2023

‘ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดี’ เจิดจรัสบนฟากฟ้า สว่างเด่นเห็นได้ด้วยตาเปล่า

ปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม ‘ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดี’ ที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ค่ำคืนนี้จะเป็นคืนสุดท้าย ตามที่สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ได้แจ้งว่าจะเกิดปรากฏการณ์นี้ช่วงหัวค่ำของวันที่ 1-3 มีนาคม ตั้งแต่หลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าจนถึงเวลาประมาณ 20.00 น. สว่างเด่นสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าทุกภูมิภาคทั่วไทย   ในช่วงค...
13 ธันวาคม 2022

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ฯ ชวนชม ‘ฝนดาวตกเจมินิดส์’ คืนวันที่ 14 ธ.ค. ดูได้ด้วยตาเปล่า คาดตก 150 ดวงต่อชั่วโมง

วันนี้ (13 ธันวาคม) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) ชวนประชาชนชมปรากฏการณ์ ‘ฝนดาวตกเจมินิดส์’ ในคืนวันพรุ่งนี้ (14 ธันวาคม) โดยระบุว่าในระหว่างวันที่ 4-20 ธันวาคมของทุกปี เป็นช่วงที่เกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกเจมินิดส์ หรือฝนดาวตกกลุ่มดาวคนคู่ มีศูนย์กลางกระจายอยู่บริเวณกลุ่มดาวคนคู่     สำหรับปีนี้นักด...
23 กันยายน 2022

วันนี้เป็นวัน ‘ศารทวิษุวัต’ กลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน ซีกโลกเหนือเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง ซีกโลกใต้เข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ

วันนี้ (23 กันยายน) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์ แห่งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. กล่าวว่า วันที่ 23 กันยายน 2565 เป็นวันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox) เวลากลางวันเท่ากับกลางคืน คำว่า Equinox มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน 2 คำ คือ Aequus แปลว่า เท่ากัน และ Nox แปลว่า กลางคืน ดังนั้น Equi...
15 กรกฎาคม 2022

ชมคลิป: วิเคราะห์ภาพประวัติศาสตร์จากกล้อง ‘เจมส์ เว็บบ์’ หรือจักรวาลห่างเราแค่เอื้อม?

วิเคราะห์ภาพประวัติศาสตร์จากกล้อง ‘เจมส์ เว็บบ์’ หรือจักรวาลห่างเราแค่เอื้อม? กับ มติพล ตั้งมติธรรม นักวิชาการดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ...
ดาวฤกษ์ยังไม่วิวัฒนาการ
6 กรกฎาคม 2022

ทุบสถิติ! จีนพบ ‘ดาวฤกษ์ยังไม่วิวัฒนาการ’ อุดมด้วยลิเธียม 9 ดวงใหม่ สูงกว่าปริมาณลิเธียมของดวงอาทิตย์ราว 3 เท่า

วันนี้ (6 กรกฎาคม) ทีมผู้เชี่ยวชาญนำโดยคณะนักวิจัยจากหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์แห่งชาติ สังกัดสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน ค้นพบดาวฤกษ์ยังไม่วิวัฒนาการที่อุดมไปด้วยลิเธียม จำนวน 9 ดวง ซึ่งเป็นสถิติมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ ด้วยการประยุกต์ใช้กล้องโทรทรรศน์ลามอสต์ (LAMOST) กล้องโทรทรรศน์ที่ทำงานในย่านความถี่ที่ตามองเห็นขนาดใหญ่ที่สุดของจีน โดยลิเธียมจัดเป...

Close Advertising