×

คสช.

3 กรกฎาคม 2017

ยกเลิกดูงานเมืองนอก! สปท. ไฟเขียว ตัดงบ ส.ส.-ส.ว. ไปดูงานเมืองนอกเกลี้ยง!

     นับตั้งแต่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช. ซึ่งนำโดย พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา เข้าควบคุมอำนาจบริหารบ้านเมืองเป็นปีที่สาม การเดินทางไปศึกษาดูงานยังต่างประเทศเป็นนโยบายที่ พล.อ. ประยุทธ์ ให้ความสำคัญ และถือเป็น ‘กฎเหล็ก’ ที่ทุกหน่วยราชการต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ถูกนำเสนอบนหน้าสื่อหลายครั้ง พร้อมกับเสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึงการใช้ง...
3 กรกฎาคม 2017

เมื่อคลื่น พ.ร.ก. แรงงานต่างด้าว ซัดแรงงานกลับประเทศ! รัฐจะแก้ปมนี้อย่างไร?

     ผ่านมาได้ 11 วันแล้ว ที่ พ.ร.ก. การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้ นับตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายนที่ผ่านมา สถานการณ์แรงงานต่างด้าวในประเทศไทยถูกนำเสนอมาเป็นระลอก ตั้งแต่การทยอยเดินทางข้ามด่านชายแดนกลับประเทศนับพันคน นายจ้างโอดครวญต่อมาตรการของกฎหมายที่ลงโทษปรับหนักมาก ไปจนถึงการตั้งข้อสังเกตของนักวิชาการต...
19 มิถุนายน 2017

สนช. อาจตกเก้าอี้ หาก ‘ขาดประชุม’ แม้ข้อบังคับใหม่ให้ขาดลงมติได้ไม่จำกัด

     ประเด็นการทำหน้าที่ของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ สนช. ตกเป็นข่าวใหญ่ในหน้าสื่อมาก่อนหน้านี้ เนื่องจากโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน หรือ iLaw ได้ออกมาเปิดเผยผลการตรวจสอบเกี่ยวกับการเข้าประชุมของสมาชิก สนช. โดยพบสมาชิกอย่างน้อย 7 คน ที่ขาดประชุมเป็นประจำ จนอาจจะเป็นเหตุให้สิ้นสภาพการเป็นสมาชิก สนช. และเมื่อได้ขอข้อม...
6 มิถุนายน 2017

SPECIAL REPORT – ปรองดอง เป็นไปได้หรือแค่ฝัน?

ขวบปีที่ 3 ของการเข้าควบคุมอำนาจและบริหารบ้านเมืองโดยรัฐบาลคสช. กระบวนการปรองดอง เริ่มต้นขึ้นอีกครั้ง โดย 'รัฐ' เข้ามาเป็นคนกลาง นำทุกฝ่ายเข้าร่วมถกหาทางออกเพื่อลดความขัดแย้ง แต่ยังมีคำถามคาใจเกิดขึ้นมากมายต่อกระบวนการนี้ สุดท้ายปลายทาง 'ปรองดอง' จะเกิดขึ้นได้จริงหรือเป็นเพียงแค่ความฝัน ติดตามทัศนะของแต่ละฝ่ายได้จากวิดิโอนี้...
5 มิถุนายน 2017

จะปรองดองต้องคิดนอกกรอบ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กับข้อเสนอ ‘รัฐบาลผสม’ เพื่อการปรองดองแห่งชาติ

     สองทศวรรษที่แล้ว ศ. ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ให้กำเนิดทฤษฎี ‘สองนคราประชาธิปไตย’ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ความขัดแย้งของการเมืองไทยในช่วง พ.ศ. 2533-2536 สะท้อนแนวคิดทางประชาธิปไตยที่แตกต่างกันระหว่างคนชนบทและชนชั้นกลางจนเกิดวาทกรรม ‘คนชนบทตั้งรัฐบาล คนชั้นกลางล้มรัฐบาล’      ถึงวันนี้ ‘สองนคราประชาธิปไตย’ ยังคงอธิบ...
5 มิถุนายน 2017

‘เมื่อทหารเป็นคนกลาง ทุกคนก็รู้ว่าไม่กลาง’ ปอกเปลือกปรองดองในหัวใจสีแดงของจตุพร พรหมพันธุ์

     วันที่กระบวนการปรองดองเดินมาได้ระยะหนึ่งแล้ว เรามีนัดกับ จตุพร พรหมพันธุ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เพื่อสนทนาภายใต้โมงยามแห่งความขัดแย้งที่อาจปะทุขึ้นได้อีกยาม      บนถนนแห่งความขัดแย้งทางการเมือง เขานำมวลชนออกมาชุมนุมหลายครั้ง และต้องตกอยู่ในชะตากรรมที่ถูกคุมขังในเรือนจำ วนเข้าวนอ...
5 มิถุนายน 2017

ปรองดองในมือทหารจะสลายความขัดแย้งยาวนานนับสิบปีได้จริงหรือ?

     นับเป็นเวลากว่า 3 ปีแล้วที่ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช. ซึ่งประกาศให้การปรองดองเป็นหนึ่งในภารกิจหลักที่จำเป็นต้องเข้ามาจัดการ แต่ในความเป็นจริงแล้วภารกิจปรองดองเพิ่งเริ่มต้นขึ้นในขวบปีที่ 3 ของรัฐบาล คสช. นี้เอง      ท่ามกลางการจับตามองจากหลายฝ่ายว่าการปรองดองครั้งนี้จะเป็น...
5 มิถุนายน 2017

ถ้าจะปรองดอง ‘ทหารต้องไม่ใช่คนกลาง’ จากใจพะเยาว์ อัคฮาด แม่ผู้สูญเสียลูกสาวในเหตุการณ์พฤษภา 53

     เป็นเวลากว่า 7 ปีเต็มที่ผู้หญิงคนหนึ่งยังคงปรากฏตัวในสถานที่เดิมซ้ำแล้วซ้ำเล่าเพื่อเรียกร้อง ‘ความยุติธรรม’ ในฐานะของ ‘แม่’ ที่ต้องสูญเสียลูกสาว      พะเยาว์ อัคฮาด แม่ของนางสาวกมนเกด อัคฮาด (เกด) พยาบาลอาสา 1 ใน 6 ผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์กระชับพื้นที่ชุมนุมทางการเมืองที่วัดปทุมวนาราม เมื่อเดือนเมษายนถึงพฤษภาค...
5 มิถุนายน 2017

“ปรองดองต้องมองอนาคตมากกว่าอดีต” ปรองดองในความหมายของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

     นี่ไม่ใช่การปรองดองครั้งแรกของ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และไม่มีใครรับประกันได้ว่ามันจะเป็นครั้งสุดท้าย      ย้อนกลับไปเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้วที่มีการหยิบวาทกรรม ‘ปรองดอง’ มาใช้เป็นครั้งแรกในสมัยพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นรัฐบาล ในวันนั้นอภิสิทธิ์ยังเป็นแค่ส่วนเล็กๆ ของความขัดแย้งในฐานะฝ่าย...

X
Close Advertising