×

Opinion

AstraZeneca
4 กันยายน 2021

เจาะลึกวัคซีนไขว้สูตร AstraZeneca + Pfizer ที่จะเริ่มใช้ในเดือนตุลาคมนี้

AstraZeneca + Pfizer เป็นวัคซีนไขว้สูตรใหม่ที่จะเริ่มใช้ในเดือนตุลาคมนี้ เพราะจะมีการนำเข้าวัคซีน Pfizer ประมาณเดือนละ 10 ล้านโดสจนถึงสิ้นปี นพ.โสภณ เอี่ยมศิริถาวร รองอธิบดีกรมควบคุมโรค แถลงข่าวเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2564 ว่ากระทรวงสาธารณสุขได้เห็นชอบสูตรการฉีดวัคซีนโควิดในประเทศไทยตามคำแนะนำของคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งมีทั้งหมด 3 ส...
gold
3 กันยายน 2021

ย้อนรอยการเคลื่อนไหวของ ‘ทองคำ’ รับ QE Tapering ในปี 2013

แนวโน้มการดำเนินนโยบายการเงินของ Fed มีบทบาทสำคัญต่อราคาทองคำอย่างมาก เพราะจากสถิติในอดีต เห็นได้ชัดว่าในช่วงที่ Fed ผ่อนคลายนโยบายการเงินทองคำจะปรับตัวสูงขึ้น ดังเช่นที่เกิดขึ้นในช่วงปี 2009-2011 และช่วงปี 2020 ขณะที่ในช่วงที่ Fed ยุติการผ่อนคลายนโยบายการเงินและกลับมาคุมเข้มนโยบายการเงินก็ส่งผลกดดันราคาทองคำเช่นกัน ดังที่เกิดขึ้นในช่วงปี 2013-2018...
วัคซีน Pfizer
3 กันยายน 2021

8 ภาพข้อเท็จจริงวัคซีน Pfizer ประสิทธิผลและความปลอดภัยที่สหรัฐฯ ติดตามต่อเนื่อง

8 เดือนหลังจากได้รับการอนุมัติให้ใช้ในกรณีฉุกเฉิน วัคซีน Pfizer หรือชื่อทางการค้าว่า Comirnaty ก็ได้รับการอนุมัติอย่างเต็มรูปแบบจากองค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา (FDA) เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2564 นับเป็นหมุดหมายที่สำคัญในการระบาดของโควิด ถึงแม้หลายคนจะมองว่าเป็น ‘วัคซีนเทพ’ แต่ก็เป็นวัคซีนที่ผ่านการติดตามประสิทธิผลและความปลอดภัยมาอย่างเป็นระบบและต่อ...
Climate Change Strategy
3 กันยายน 2021

กลยุทธ์ Climate Change Strategy กับการลงทุนอย่างมีความรับผิดชอบ

ซีรีส์...แนวโน้มการลงทุนแบบ Responsible Investment ตอน 4   ในการลงทุนแบบที่เรียกว่า Responsible Investment (RI) นักลงทุนหรือผู้จัดการกองทุน (ซึ่งบริหารเงินทุนแทนนักลงทุน) ภายใต้ชื่อ Asset Owners อาจเริ่มต้นจากการไปดูไกด์ไลน์ที่ทาง PRI (Principles for Responsible Investment) กำหนดขึ้น PRI เป็นเครือข่ายระดับนานาชาติของการลงทุนแบบ RI ซึ่งรวมต...
จีน fed
2 กันยายน 2021

ปรับธีมลงทุนอย่างไรให้ไม่สวนทั้ง ‘จีน’ และ ‘Fed’

การลงทุนแนว Thematic Investing ในบ้านเราช่วงนี้ดูจะได้รับความสนใจน้อยลง เนื่องจากเรื่องราวในตลาดการเงินพลิกกลับมาเป็น ‘การเปิดเมือง’ ‘เงินบาทที่แข็งค่า’ และทิศทาง ‘นโยบายการเงินของ Fed’ แต่ในทั่วโลก กระแสการลงทุนแห่งอนาคตเหล่านี้ยังคงแข็งแรง มีกองทุนออกใหม่ต่อเนื่อง และมีประเด็นน่าติดตามมากมาย   เริ่มต้นด้วยทิศทางของตลาดล่าสุด ช่วงเดือนท...
ตราสารหนี้
31 สิงหาคม 2021

ลงทุน ‘ตราสารหนี้’ อย่างไร ให้ผลตอบแทนสดใส ในยุคตลาดผันผวน

การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ช่วงต้นเดือนสิงหาคม ซึ่งคณะกรรมการมีมติ 4 ต่อ 2 เสียง ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 0.50% ต่อปี โดยกรรมการส่วนใหญ่เห็นว่ามาตรการการเงินมีประสิทธิผลกว่าการลดดอกเบี้ย ขณะที่ 2 เสียง เห็นควรให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% ต่อปีเพื่อพยุงเศรษฐกิจเพิ่มเติม ผลประชุมครั้งนั้น ค่อนข้างจะมีผลต่อตลาดการเงินไทยพอสมคว...
percentage of COVID positives
31 สิงหาคม 2021

เปอร์เซ็นต์ผลบวกโควิดลดลง แต่ยังสูงอยู่

จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่เผยแพร่ในเว็บไซต์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภาพรวมประเทศร้อยละผลบวกโควิดมีแนวโน้มลดลง แต่ยังถือว่าสูงอยู่ ล่าสุดสัปดาห์ที่ 34 (วันที่ 22-28 สิงหาคม 2564) เท่ากับ 20.4% หรือทุกๆ ผู้รับการตรวจหาเชื้อ 5 คน จะพบผู้ติดเชื้อ 1 คน ในขณะที่การตรวจหาเชื้อด้วยวิธี RT-PCR กลับลดลงด้วย เฉลี่ยทั้งสัปดาห์เหลือวันละ 53,657 ตัวอย่าง  &n...
เมื่อโควิดแพร่เชื้อทางอากาศ
30 สิงหาคม 2021

เมื่อโควิดแพร่เชื้อทางอากาศ ทำไมการระบายอากาศถึงสำคัญ และจะเพิ่มการระบายอากาศได้อย่างไร

การคลายล็อกรอบ 1 กันยายน 2564 นี้น่าจะเป็นครั้งแรกที่ ศบค. พูดถึง ‘การระบายอากาศ’ อย่างจริงจัง ทั้งการระบุไว้ในมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID-FREE Setting) โดยด้านสิ่งแวดล้อมจะต้องมีระบบระบายอากาศ และทั้งการจำกัดจำนวนผู้นั่งในร้านอาหารตามลักษณะการระบายอากาศระหว่างห้องปรับอากาศ (นั่งได้ 50%) และพื้นที่เปิดที่อากาศสามารถระบายถ่ายเทได้ดี (นั่งได้ 7...
Global REITs
30 สิงหาคม 2021

เสริมทัพปรับพอร์ตกับ Global REITs

การลงทุนในทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ทั่วโลก (Global REITs) ไม่ได้เป็นเพียงการหาตลาดที่กำลังเติบโตเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับการได้รับประโยชน์จากการเปิดรับวัฏจักรของอสังหาริมทรัพย์ในประเทศอื่นๆ ที่มีลักษณะเฉพาะที่หลากหลาย โดยในหลายปีที่ผ่านมานักลงทุนมีความต้องการจัดพอร์ตการลงทุนโดยผสมสินทรัพย์ต่างๆ เพิ่ม เพื่อลดความเสี่ยงของพอร์ตการลงทุนโ...
Phaeng Pha Tham Lod
28 สิงหาคม 2021

ข้อค้นพบใหม่: ทุ่งสะวันนาเมืองไทยในยุคน้ำแข็ง ร่องรอยจากฟันสัตว์

คำถามเกี่ยวกับยุคน้ำแข็งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สำคัญคือ ‘ปัจจัยอะไรที่เอื้อให้มนุษย์ยุคหมื่นปีขึ้นไปสามารถเดินทางไปในเขตหมู่เกาะ พวกเขาอยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมแบบใด และทำไมเครื่องมือหินในยุคนั้นจึงไม่ค่อยพัฒนามากเมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นของโลก’   คำถามนี้คลี่คลายลงเมื่อทีมนักวิจัยด้านบรรพชีวินวิทยาและโบราณคดีชาวไทยร่วมกับต่างชาติได้ร่วม...

MOST POPULAR

X
Close Advertising