×

In partnership

30 มีนาคม 2018

ผู้ชายห่วยๆ และไวน์ในหนังเรื่อง Sideways ส่งผลกระทบสู่เศรษฐกิจและไร่องุ่นได้อย่างไร

“ถ้าใครก็ตามสั่งเมอโลต์ กูจะกลับ กูไม่แ*กเมอโลต์โว้ย!”   วาจาโผงผางและท่าทีอาละวาดแต่พอดีของ ‘ไมล์ส’ ที่เขามีต่อ ‘แจ็ค’ เพื่อนที่เอื้อนเอ่ยปากแกมประชดว่าจะดื่มไวน์ ‘เมอโลต์’ (Merlot) ระหว่างเดินเท้าไปรับประทานอาหาร คำพูดดังกล่าวและการแสดงของ พอล จิอาแม็ตติ ในบท ไมล์ส ได้กลายเป็นเสมือนฉากจำหนึ่งฉากจากภาพยนตร์เรื่อง Sideways (2004) ไปอย่าง...
23 มีนาคม 2018

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการร่วมกินดื่มจิบไวน์กับคนร่วม 10 ประเทศที่งาน Our Table

การจิบไวน์ที่บ้านคนเดียวก็เป็นความสุขอีกแบบ ที่ได้ดื่มด่ำรสชาตินานับ รับกลิ่นสารพัดจากในแก้วเล็กๆ สักใบ จินตนาการไปไกลว่าอยู่ท่ามกลางสวนองุ่นสีเขียวอันแสนสุขทันทีที่จิบ แต่คงจะดีขึ้นไม่น้อยหากได้แชร์ประสบการณ์นี้กับคนที่ตรงดิ่งมาชิมไวน์กับคุณจากทั่วโลก ณ ไร่องุ่นแสนสวยตอนใต้ของออสเตรเลียในอุณหภูมิเย็นๆ ที่จะชวนจิบไวน์ไปกว่านี้ไม่ได้แล้ว!   ...
16 มีนาคม 2018

8 เรื่องน่ารู้ที่จะเปลี่ยนมุมที่คุณมองไวน์แดงเสียใหม่

ลองนั่งพินิจดูไวน์แดงที่อยู่ตรงหน้ากันสักประเดี๋ยวว่าเรารู้จักเจ้าน้ำไวน์สีเข้มที่บ้างว่ากันว่าเกิดขึ้นโดยความบังเอิญนับแต่ยุคโบราณกันมากน้อยแค่ไหนกัน รู้หรือเปล่าว่าหลักฐานเก่าแก่ที่สุดที่เคยถูกค้นพบเกี่ยวกับไวน์นั้น แท้จริงแล้วหาใช่ยุโรปหรือเมดิเตอร์เรเนียน แต่เป็นเมืองจีนต่างหากล่ะ!   เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับไวน์แดงเหล่านี้อาจเปลี่ยนมุมม...
9 มีนาคม 2018

ทำไมแก้วไวน์ถึงใหญ่ขึ้นและจุมากขึ้น สำรวจวิวัฒนาการจากจอกใบจิ๋วสู่แก้วใบโต

“คุณคิดว่าแก้วไวน์ที่คุณหยิบขึ้นมาดื่มแก้วล่าสุดสามารถบรรจุไวน์ได้สักกี่มิลลิลิตร?”   สำหรับเราคำตอบนั้นง่ายมากคือ “ไม่ทราบค่ะ พอดีมัวแต่ดื่ม!”   นั่นสิ ใครจะมามัวพะวงหรือสนใจว่าแก้วไวน์ที่พวกเขากำลังถืออยู่นั้นสามารถจุเครื่องดื่มสีสวยได้กี่มิลลิลิตร กี่ลูกบาศก์เมตร หรือรู้ไปแล้วจะมีประโยชน์อะไร?!   แต่ถ้าเรากำลังจ...
2 มีนาคม 2018

ชนิดไหน ถิ่นใด นี่คือกลยุทธ์อ่านฉลากไวน์ที่จะทำให้การเลือกไวน์เป็นเรื่องกล้วยๆ

ใครเคยตั้งอกตั้งใจอ่านฉลากไวน์อย่างจริงจังเพื่อเลือกซื้อ หรือเลือกไวน์ที่คนเสิร์ฟอุตส่าห์เอนขวดให้อ่านก่อนเสิร์ฟบ้าง? เพราะนอกจากจะดูประเทศผลิต ชนิดของไวน์ว่าเป็นไวน์แดง ขาว โรเซ หรือแชมเปญเบื้องต้นแล้ว เจ้ากระดาษที่แปะบนขวดยังบอกอะไรได้อีก ไปหาคำตอบกัน   เชื่อเถอะว่าทันทีที่คุณรู้หลักเบื้องต้น ชีวิตวันไวน์ของคุณจะง่ายขึ้น แถมน้ำไวน์ที่...
9 กุมภาพันธ์ 2018

โลกกำลังพูดถึง เซ็กต์ ไวน์ (Sekt Wine) แต่ไวน์นี้คืออะไร?

เรารู้จักแชมเปญกันมาตั้งนานในฐานะความฟูฟ่องฟองซ่า จนเรียกได้ว่าเป็นตัวแทนของความอู้ฟู่ของการใช้ชีวิตอันสำราญ แต่นอกจากแชมเปญแล้ว ขณะนี้โลกของไวน์กำลังฮือฮาถึงสิ่งที่เรียกว่า ‘Sekt Wine’ หรือ ‘เซ็กต์ ไวน์’ (อ่านดีๆ ไม่เกี่ยวกับเรื่องบนเตียง) แต่ไวน์ที่ว่านี้คืออะไร จะใช่ไวน์ส้ม ไวน์ออร์แกนิก หรือเป็นจำพวกไบโอไดนามิกหรือเปล่า? ไปหาคำตอบกัน   ...
7 กุมภาพันธ์ 2018

Startup Scaleup Series EP.1: StockRadars ธุรกิจ ‘สตาร์ทอัพ’ มาคู่กับคำว่า ‘สเกลอัพ’

เมื่อ 6-7 ปีที่แล้ว ในสมัยที่คำว่าสตาร์ทอัพเพิ่งเป็นที่รู้จักในประเทศไทย กระแสสังคมพุ่งไปที่การเรียนรู้เรื่อง Lean Startup และ Design Thinking แต่เมื่อเวลาเปลี่ยน วิวัฒนาการของวงการก็เติบโตขึ้นตามกาลเวลา เหล่าธุรกิจสตาร์ทอัพก็เติบใหญ่ขึ้นเช่นกัน ความตื่นตัวจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่การเริ่มต้น ความรู้ไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่เรื่อง Lean และแนวคิดต้องไปได้ไกล...
2 กุมภาพันธ์ 2018

ห้ามเสิร์ฟไวน์ในแก้วชา ห้ามกลืนไวน์ที่คุณชิม รวบรวมกฎหมายและเรื่องไวน์ชวนหัวจากทั่วโลก

สิ่งที่ทำให้สังคมน่าอยู่ มีกฎระเบียบ กฎกติกา คงจะหนีไม่พ้นการมีข้อบังคับใช้ทางกฎหมาย ที่ทำให้ทุกคนในสังคมเข้าใจและปฏิบัติต่อกันอย่างถูกต้อง หรือหากสิ่งที่ไม่เคร่งครัดมากอย่างประเพณี ก็เป็นอีกมิติหนึ่งของการสร้างข้อกำหนดหรือสิ่งที่ต้องทำร่วมกันให้คนในสังคมได้เช่นกัน   แต่ถ้าหากคุณไปพบเข้ากับข้อกำหนดทางกฎหมายหรือประเพณีบางอย่างที่ชวนปวดหัว...
26 มกราคม 2018

บริดเจ็ต โจนส์กับไวน์ของเธอส่งผลกระทบอย่างไรต่อทัศนคติของผู้หญิงและอุตสาหกรรมไวน์?

คุณคงจำภาพหญิงสาวจ้ำม่ำ ขี้เมา แถมยังชอบคุยกับตัวเองเหมือนนางเอกละครหลังข่าวประเทศไทยที่ชื่อ บริดเจ็ต โจนส์ จาก Bridget Jones’s Diary ได้ใช่หรือไม่? เธอคือตัวละครหลักในภาพยนตร์โรแมนติกคอเมดี้ซึ่งดัดแปลงมาจากนิยายชื่อเดียวกันของเฮเลน ฟีลดิง (Helen Fielding) ที่เล่าเรื่องของผู้หญิงโสดคนหนึ่งที่ชีวิตรักนั้นวุ่นวายอย่างน่าหมั่นไส้ ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้...
20 มกราคม 2018

พลังจากคนเล็กๆ ก็สามารถเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้น เรียนรู้ผ่านมุมมองของแอนดรูว์ กลาส British Council, Country Director

แม้จะได้ยินชื่อเสียงเรียงนามขององค์กรอย่าง บริติช เคานซิล (British Council) มานาน แต่เราเชื่อว่าหลายคนอาจจะแทบไม่เคยรู้เลยว่าองค์กรที่ส่งเสริมด้านศิลปะและวัฒนธรรมแห่งนี้อยู่คู่ประเทศไทยมานานกว่า 65 ปีแล้ว และหากนับอายุตั้งแต่ก่อตั้งเมื่อปี 1934 วันนี้บริติช เคานซิล ก็มีอายุกว่า 83 ปี นับว่าเป็นเวลาที่ยาวนานมากพอที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงให...

Close Advertising