×

หลุมดำ

สสารมืด
19 มิถุนายน 2024

นักวิทยาศาสตร์อาจไขปริศนาที่มาของสสารมืดได้แล้ว

นักวิทยาศาสตร์เฝ้ามองและสังเกตกาแล็กซีทั้งหลายด้วยความฉงนสงสัยตลอดมา โดยเฉพาะกาแล็กซีที่มีรูปร่างแบบกังหัน ว่าเพราะเหตุใดดวงดาวที่อยู่ไกลจนสุดขอบแขนกังหัน กับดวงดาวที่อยู่ใกล้ใจกลางกาแล็กซี ถึงได้มีความเร็วในการโคจรไปรอบกาแล็กซีแทบไม่แตกต่างกันเลย   เพราะหากเรามองการหมุนรอบตัวเองของกาแล็กซีตามกฎของเคปเลอร์ข้อที่ 3 หรือกฎฮาร์มอนิก (p2/a³=...
หลุมดำ
17 พฤษภาคม 2024

นักดาราศาสตร์พบการชนกันของสองหลุมดำที่อยู่ไกลจากโลกที่สุด

นักดาราศาสตร์พบหลักฐานการชนกันระหว่าง หลุมดำ สองแห่งที่ใจกลางของ 2 กาแล็กซี เป็นครั้งแรกที่ตรวจพบหลุมดำชนกันในยุคแรกเริ่มของเอกภพ และนับเป็นการควบรวมของหลุมดำที่ไกลจากโลกที่สุดในปัจจุบัน   การค้นพบดังกล่าวเกิดขึ้นในบริเวณ ZS7 ที่อุปกรณ์ NIRSpec ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ตรวจพบว่าเป็นหลักฐานของการควบรวมกันระหว่างกาแล็กซี 2 แห่ง ซ...
19 เมษายน 2024

ค้นพบ Gaia BH3 หลุมดำดาวฤกษ์มวลมากที่สุดในทางช้างเผือก

นักดาราศาสตร์ตรวจพบหลุมดำ Gaia BH3 หลุมดำดาวฤกษ์มวลมากที่สุดในทางช้างเผือก อยู่ห่างโลกไปประมาณ 2,000 ปีแสง   หลุมดำดาวฤกษ์ หรือ Stellar Black Hole เป็นหลุมดำที่เกิดจากการยุบตัวภายใต้แรงโน้มถ่วงของดาวฤกษ์ โดยมักพบว่ามีมวลระหว่าง 5-10 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ อย่างไรก็ตาม Gaia BH3 มีมวลมากถึง 33 มวลดวงอาทิตย์ ทำลายสถิติเดิมของหลุมดำ Cygnus X-1...
หลุมดำ
30 มีนาคม 2024

เผยภาพใหม่ หลุมดำใจกลางทางช้างเผือก พบสนามแม่เหล็กรุนแรงอยู่รอบ

นักวิทยาศาสตร์เผยภาพถ่ายล่าสุดของหลุมดำมวลยิ่งยวด Sagittarius A* แสดงให้เห็นสนามแม่เหล็กรอบหลุมดำที่ใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก จากการ Polarization ของแสง   เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ Event Horizon Telescope จากกล้องโทรทรรศน์วิทยุทั่วโลก อาศัยการ Polarization ของแสงจากวัตถุที่โคจรอยู่รอบหลุมดำ ก่อนเผยให้เห็นว่าหลุมดำที่อยู่ห่างไปราว 27,000 ป...
20 กุมภาพันธ์ 2024

นักดาราศาสตร์พบเควซาร์ที่สว่างที่สุดในเอกภพ และหลุมดำที่มีอัตราเติบโตเร็วที่สุด

นักดาราศาสตร์ค้นพบเควซาร์สว่างแห่งใหม่ ที่ทำลายสถิติเป็นวัตถุที่สว่างที่สุดในเอกภพ จากหลุมดำที่มีอัตราเติบโตรวดเร็วที่สุดเท่าที่เคยถูกพบมา ด้วยการกลืนกินมวลเข้าไปเทียบเท่ากับมวลของดวงอาทิตย์ในแต่ละวัน   เควซาร์ J0529-4351 ที่ถูกพบโดยคณะนักดาราศาสตร์จากนานาประเทศ อยู่ห่างจากโลกมากเสียจนแสงต้องใช้เวลากว่า 12,000 ล้านปีเพื่อเดินทางมาถึง ...
19 มกราคม 2024

พบวัตถุปริศนาในทางช้างเผือก อาจเป็นดาวนิวตรอนที่ใหญ่ที่สุดหรือหลุมดำที่เล็กที่สุด

คณะนักดาราศาสตร์นานาชาติพบวัตถุปริศนาในทางช้างเผือก ที่อาจเป็นดาวนิวตรอนที่มีมวลมากสุดหรือเป็นหลุมดำขนาดเล็กที่สุด   การค้นพบครั้งนี้เกิดขึ้นกับวัตถุที่โคจรอยู่รอบพัลซาร์ที่มีอัตราการกะพริบในระดับมิลลิวินาที (Millisecond Pulsar) ชื่อ PSR J0514-4002E ในกระจุกดาวทรงกลม NGC 1851 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 40,000 ปีแสง   วัตถุที่ถ...
20 กรกฎาคม 2023

รู้จัก เจ. โรเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์: ผู้ทำนายการมีอยู่ของหลุมดำ และบิดาแห่งระเบิดปรมาณูที่โลกทั้งรักและชัง

วันที่ 1 กันยายน 1939 กองทัพนาซีเยอรมนียกพลบุกยึดครองโปแลนด์ เป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองที่พลิกโฉมประวัติศาสตร์ไปตลอดกาล   แต่ในวันเดียวกัน ยังมีอีกสิ่งที่พลิกโฉมการศึกษาด้านอวกาศ เพราะงานวิจัย On Continued Gravitational Contraction ของ เจ. โรเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์ และ ฮาร์ตแลนด์ สไนเดอร์ ได้รับการตีพิมพ์ ซึ่งงานวิจัยดังกล่าวได้...
หลุมดำมวลยิ่งยวด
7 กรกฎาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบหลุมดำมวลยิ่งยวดไกลจากโลกที่สุดในประวัติศาสตร์

NASA และ ESA ได้ร่วมกันเผยแพร่ข้อมูลล่าสุดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ที่ตรวจพบหลุมดำมวลมหึมาในกาแล็กซี CEERS 1019 ซึ่งมีอยู่ตั้งแต่เอกภพยังมีอายุแค่ 570 ล้านปี หรือเราได้เห็นสภาพของมันที่เป็นอยู่เมื่อประมาณ 13,200 ล้านปีที่แล้ว   CEERS 1019 มีมวลประมาณ 9 ล้านเท่าของดวงอาทิตย์ ถือว่าค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับหลุมดำแห่งอื่นที่ถูกตรว...
ความโน้มถ่วงความถี่ต่ำ
30 มิถุนายน 2023

ครั้งแรก! นักดาราศาสตร์พบเสียงฮัมในเบื้องหลังของจักรวาล จากการศึกษาคลื่นความโน้มถ่วงความถี่ต่ำ

จักรวาลของเราเต็มไปด้วยเสียงฮัมก้องกังวานทั่วทุกทิศ หากเทียบทั้งจักรวาลเป็นดั่งวงดนตรีซิมโฟนี เราจะได้ยินเสียงประสานทุ้มดังก้องทั่วทั้งฮอลล์การแสดง ซึ่งนี่คือสิ่งที่นักดาราศาสตร์จากนานาประเทศได้ค้นพบ แต่เปลี่ยนจากคลื่นเสียงที่หูเราได้ยินผ่านตัวกลางอากาศ เป็นคลื่นความโน้มถ่วงที่ยืดหดกาลอวกาศแทน   อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้ทำนายการมีอยู่ของคล...
หลุมดำ M87
28 เมษายน 2023

เผยภาพถ่ายแรกของลำอนุภาคจากหลุมดำใจกลางกาแล็กซี M87

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2019 โลกได้เห็นภาพแรกของ ‘หลุมดำมวลยิ่งยวด’ (Supermassive Black Hole) บริเวณใจกลางกาแล็กซี M87 (Messier 87) ที่ระยะห่างจากโลกออกไปประมาณ 55 ล้านปีแสง ซึ่งเป็นผลงานจาก ‘อีเวนต์ฮอไรซัน’ หรือ EHT เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุช่วงความถี่สูงที่วางกล้องเอาไว้ในประเทศต่างๆ ในหลายทวีป จนมองได้ว่าเป็นกล้องโทรทรรศน์ที่มีขนาดใหญ...


Close Advertising
X