×

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

An Asteroid Bigger Will Pass Earth Soon
8 สิงหาคม 2019

สดร. แจงเหตุนาซ่าเตือนดาวเคราะห์น้อยเข้าใกล้โลก 10 สิงหาคมนี้ ไม่เป็นภัยต่อโลก

เมื่อวานนี้ (7 ส.ค.) ทางเพจเฟซบุ๊กของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ออกชี้แจงกรณีมีข่าวจากสำนักงานอวกาศยุโรปออกคำเตือน หลังพบดาวเคราะห์น้อย ‘2006 QQ23’ กำลังพุ่งเฉียดโลกในวันที่ 10 สิงหาคมนี้ พร้อมย้ำว่าเหตุการณ์ดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อโลก วอนคนไทยอย่าตระหนก   โดย สิทธิ...
13 กรกฎาคม 2019

บรรยากาศ ‘หอดูดาวสงขลา’ แห่งแรกของภาคใต้ และแห่งที่ 3 ของไทย เตรียมเปิดให้บริการ 1 สิงหาคมนี้

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม เตรียมเปิด ‘หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา สงขลา’ โดยหอดูดาวแห่งนี้นับเป็นแห่งที่ 3 ของประเทศไทย เป็นศูนย์การเรียนรู้ดาราศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวิชาการที่สำคัญของภาคใต้ ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนรา...
1 กรกฎาคม 2019

9 ก.ค. นี้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ชวนแหงนหน้ามองฟ้า ส่อง ‘ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี’

วันนี้ (1 ก.ค. 2562) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผยว่าในวันที่ 9 กรกฎาคมนี้ จะเป็นวันที่ดาวเสาร์ใกล้โลกที่สุดในรอบปี ซึ่งจะปรากฏบนท้องฟ้าตลอดคืนถึงรุ่งเช้า หากสภาพอากาศเป็นใจ จะสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าทุกภูมิภาคทั่วประเทศ พร้อมชวนส่องดาวเสาร์ ‘ราชาแห่งวงแหวน’ อย่างเต็มตาผ่านกล...
21 พฤษภาคม 2019

22 พฤษภาคมนี้ อย่าลืมแหงนหน้าดูปรากฏการณ์ ‘ดาวเคียงเดือน’ ดาวเสาร์เคียงดวงจันทร์ 22.20 น. เป็นต้นไป

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ชวนติดตามปรากฏการณ์ ‘ดาวเคียงเดือน’ ในคืนวันที่ 22 พฤษภาคม ถึงรุ่งเช้าวันที่ 23 พฤษภาคมนี้ และ ‘ดาวเสาร์ปรากฏเคียงดวงจันทร์’ โดยสังเกตได้ด้วยตาเปล่าตั้งแต่เวลาประมาณ 22.20 น. เป็นต้นไป   วันนี้ (21 พ.ค.) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ หัวหน้างานบริการวิชาการทางดาราศาสตร์ สดร. เผยว่า ช่วงปลายเดือนพฤษภาคมนี้จะเกิ...
18 กุมภาพันธ์ 2019

ชวนชม ‘ซูเปอร์ฟูลมูน’ ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกสุดในรอบปี คืนวันมาฆบูชานี้ ประชาชนเห็นได้ด้วยตาเปล่าทางทิศตะวันออก

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชิญชวนประชาชนร่วมชมปรากฏการณ์ ‘ซูเปอร์ฟูลมูน’ (Super Full Moon) หรือดวงจันทร์เต็มดวงในระยะใกล้โลกที่สุดในรอบปีในคืนวันมาฆบูชา 19 กุมภาพันธ์นี้ โดยสามารถส่องด้วยกล้องโทรทรรศน์เพื่อให้เห็นเต็มตา ณ หอดูดาว 4 แห่งทั่วประเทศ   สดร. ระบุว่าในคืนวันเพ็ญ 19 กุมภาพันธ์นี้ ดวงจัน...
14 ธันวาคม 2018

คืนนี้! อย่าลืมรอดูฝนดาวตกเจมินิดส์ คาดตกสูงสุด 120 ดวงต่อชั่วโมง

คืนนี้หากมีโอกาส อย่าลืมแหงนหน้ามองท้องฟ้า เพราะจะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกเจมินิดส์ หรือฝนดาวตกกลุ่มดาวคนคู่ ที่เกิดขึ้นในช่วงวันที่ 4-17 ธันวาคมของทุกปี โดยปีนี้จะสามารถสังเกตฝนดาวตกได้ชัดเจนตั้งแต่เวลาหลังเที่ยงคืนของวันที่ 14 ไปจนถึงรุ่งเช้าของวันที่ 15 ธันวาคม   สำหรับในปีนี้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติคาดการณ์ว่า ฝนดาวตกเจมินิดส์จะมี...
31 กรกฎาคม 2018

จับตาวันนี้! ดาวอังคารใหญ่ สว่าง และใกล้โลกที่สุดในรอบ 15 ปี

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เผยภาพชุดดาวอังคารมีขนาดปรากฏใหญ่ขึ้นและสว่างมากขึ้น พายุฝุ่นเริ่มเบาบางลง มองเห็นขั้วน้ำแข็งและพื้นผิวได้ชัดเจน ชวนจับตา 31 กรกฎาคมนี้ ใกล้โลกที่สุดในรอบ 15 ปี ดร. ศรัณย์  โปษยะจินดา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เผยว่า สดร. เริ่มบันทึกภาพดาวอัง...
28 กรกฎาคม 2018

ปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวงจากทั่วทุกมุมโลก

ค่ำคืนของศุกร์ที่ 27 กรกฎาคมที่ผ่านมา ได้เกิดปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์อย่างจันทรุปราคาเต็มดวง หรือดวงจันทร์สีเลือด (Blood Moon) ทำให้เราสามารถมองเห็นดวงจันทร์กลมโตได้เด่นชัดเป็นสีแดงครั้งที่ 2 ในรอบปี ทั้งยังมองเห็นได้นานอีกด้วย และนี่คือปรากฏการณ์ความสวยงามทางธรรมชาติจากทั่วทุกมุมโลกที่ THE STANDARD ประมวลภาพมาให้คุณได้ชมกัน   รูปปั้นเทพเ...
19 กรกฎาคม 2018

27-28 ก.ค. เตรียมชมจันทรุปราคาเต็มดวงนานที่สุดในศตวรรษที่ 21 ดวงจันทร์ไกลโลกที่สุดในรอบปี ดาวอังคารตรงข้ามดวงอาทิตย์

ตลอดคืนวันที่ 27 ถึงรุ่งเช้าวันที่ 28 ก.ค.นี้ จะมีปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่น่าสนใจเกิดขึ้นพร้อมกันถึง 3 ปรากฏการณ์ เริ่มจากดาวอังคารอยู่ตรงข้ามดวงอาทิตย์ ก่อนจะโคจรเข้าใกล้โลกที่สุดในรอบ 15 ปี ทำให้สว่างมากและมีขนาดใหญ่กว่าปกติ คืนเดียวกันยังเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงครั้งที่ 2 ในรอบปี คราสเต็มดวงกินเวลา 1 ชั่วโมง 43 นาที นานที่สุดในศตวรรษที่ 21 อีกทั...

X
Close Advertising