×

วิทยาศาสตร์

ชมคลิป: พักเรื่องบ้านเมือง คุยเรื่องที่มาของ ‘จักรวาล’ กับ QTFT - THE STANDARD Daily 24 ส.ค. 63
24 สิงหาคม 2020

ชมคลิป: พักเรื่องบ้านเมือง คุยเรื่องที่มาของ ‘จักรวาล’ กับ QTFT – THE STANDARD Daily 24 ส.ค. 63

THE STANDARD Daily ประจำวันที่ 24 สิงหาคม 2563  เวลา 19.00 น.   The Standard Daily พักเรื่องบ้านเมือง คุยเรื่องที่มาของ ‘จักรวาล’ กับ QTFT เข้าใจจักรวาล ก็เข้าใจเรา กับ รศ.ดร.บุรินทร์ กำจัดภัย วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐานและ ดร.เพชระ ภัทรกิจวานิช อาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล   สามารถติดตาม...
18 สิงหาคม 2020

18 สิงหาคม – วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติของไทย ตรงกับวันที่ 18 สิงหาคมของทุกปี ซึ่งเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงวันนี้ใน พ.ศ. 2411   ในเหตุการณ์ครั้งนั้น รัชกาลที่ 4 ทรงคำนวณไว้ล่วงหน้า 2 ปีว่าจะเกิดสุริยุปราคาในวันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 10 ปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1230 ซึ่งตรงกับวันที่ 18 สิง...
13 สิงหาคม 2020

นักวิทย์อู่ฮั่นโต้ข้อกล่าวหาไวรัสรั่ว ร้องทั่วโลกร่วมมือสยบโควิด-19

วันนี้ (13 สิงหาคม) นักไวรัสวิทยาของจีนกล่าวกับสื่อสหรัฐฯ เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาว่าโควิด-19 ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ ‘ไม่สามารถรั่วไหลออกมาจากห้องทดลองได้’ พร้อมเรียกร้องความร่วมมือระหว่างประเทศมากขึ้นในช่วงเวลาแห่งความวุ่นวายอันเกิดจากโรคระบาด   “ผมย้ำหลายต่อหลายครั้งว่าเราเพิ่งได้สัมผัสตัวอย่างของโรคปอดอักเสบที่มีลักษณะคล้ายโรคซาร์สห...
20 มิถุนายน 2020

เตรียมชมสุริยุปราคาบางส่วนเหนือฟ้าเมืองไทย 21 มิ.ย. นี้ หากพลาดต้องรออีก 7 ปี

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (NARIT) ระบุว่า 21 มิถุนายน 2563 จะเกิดปรากฏการณ์ ‘สุริยุปราคาวงแหวน’ แนวคราสวงแหวนพาดผ่านสาธารณรัฐแอฟริกากลาง คองโก เอธิโอเปีย ตอนใต้ของปากีสถาน ตอนเหนือของอินเดีย และสาธารณรัฐประชาชนจีน ส่วนประเทศไทยจะเห็นเป็น ‘สุริยุปราคาบางส่วน’ ดวงจันทร์บดบังดวงอาทิตย์เพียงบางส่วน ทำให้มองเห็นดวงอาทิตย์เว้าแหว่ง สามารถสังเกตได้ในช...
17 มิถุนายน 2020

นับถอยหลังสู่วันครีษมายัน 21 มิถุนายน วันที่กลางวันยาวนานกว่ากลางคืน และปีนี้มีสุริยุปราคา

เราทุกคนรู้ว่าในฤดูร้อนของทุกปี ช่วงเวลากลางวันจะยาวนานกว่ากลางคืน นั่นหมายความว่าท้องฟ้าในฤดูร้อนจะสว่างเร็วและมืดช้ากว่าฤดูหนาว    เหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เนื่องมาจากความเอียงของแกนโลก ทำให้ในรอบหนึ่งปีที่โลกโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ จะมีบางเดือนที่ซีกบนคือซีกโลกเหนือ ซีกที่ประเทศไทยเราตั้งอยู่ เอียงเข้าหาดวงอาทิตย์นานกว่าเดือนอื่น และจะมีอ...
12 มิถุนายน 2020

ชมคลิป: ระบบพิสูจน์มาตรฐานด้วยมาตรวิทยา [Advertorial]

ชวนมารู้จักกับ ‘มาตรวิทยา’ หรือวิทยาศาสตร์ด้านการวัดที่ช่วยพิสูจน์และยืนยันว่า สินค้าหรือนวัตกรรมเหล่านั้นมีคุณภาพเป็นไปตามที่มาตรฐานกำหนดหรือไม่   มาตรวิทยามีความจำเป็นต่อประเทศอย่างไร และเราจะใช้ความรู้ทางด้านมาตรวิทยามาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมในด้านใดได้บ้าง   สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.nimt.or.th/main...
1 มิถุนายน 2020

เริ่มวันนี้ 1 มิ.ย. แบน 2 สารพิษ พาราควอต-คลอร์ไพริฟอส เพื่อสุขภาพประชาชน

วันนี้ (1 มิถุนายน) ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ระบุว่าตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2563 เพื่อกำหนดให้พาราควอตและคลอร์ไพริฟอสเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 มีผลตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 โดยไม่ขยายเวลาการแบนสารพิษทั้ง 2 ชนิดดังกล่าว เพราะทุกฝ่ายเห็นตรงกันว่าเราต้องทำให้เกษตรกรปลอดภัย ผู้บริ...
25 พฤษภาคม 2020

โลกาภิวัตน์ และประวัติศาสตร์การระบาดของเชื้อโรคข้ามดินแดน

เมื่อพูดถึงโลกยุคโลกาภิวัตน์ในความรู้สึกและการรับรู้ของคนส่วนใหญ่ เรามักมีความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ไปในทิศทางที่ดี ไม่ว่าจะมองว่าโลกาภิวัตน์ทำให้โลกที่กว้างใหญ่นี้แคบลง ทำให้โลกเชื่อมเข้าหากัน ทำให้มนุษย์เข้าใกล้กัน มีปฏิสัมพันธ์กัน ไปมาหาสู่กันมากขึ้นผ่านการคมนาคมและการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หรือยิ่งกว่านั้นก็มองว่าโลกาภิ...
24 พฤษภาคม 2020

คาดการณ์วัคซีนโควิด-19 ปลายปี 2564 ไทยได้ใช้ ถ้าผลการวิจัยเป็นไปตามแผน

วันนี้ (24 พฤษภาคม) ที่ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าวโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี ความก้าวหน้าวัคซีนโควิด-19 โดย นพ.นคร เปรมศรี ผู้อำนวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติ กล่าวถึงความคืบหน้าการพัฒนาวิจัยวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 ว่า ประเทศไทยภายใต้ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทำวิจัยและพัฒนาวั...
13 เมษายน 2020

เกิดรูโหว่บนชั้นโอโซนบริเวณขั้วโลกเหนือ ใหญ่ประมาณ 3 เท่าของเกาะกรีนแลนด์

เมื่อวานนี้ (12 เมษายน) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า มีการตรวจพบรูโหว่รูใหม่บนชั้นโอนโซนบริเวณขั้วโลกเหนือ โดยวารสาร Nature ระบุว่า รูดังกล่าวมีขนาดใหญ่ประมาณ 3 เท่าของเกาะกรีนแลนด์ นับเป็นรูโหว่ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบแถบอาร์กติก    ปกติแล้วชั้นโอโซนจะเป็นชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมพื้นผิวโลก เพื่อป้องกันรังสีที่เป็นอันตรายจากดวงอาทิตย์ ...


Close Advertising
X