×

ดาวเคราะห์

Human face on Jupiter
29 ตุลาคม 2023

NASA เปิดภาพใบหน้าชวนหลอนบนดาวพฤหัส รับธีมวันฮาโลวีน

NASA เปิดภาพถ่ายชุดล่าสุดจากยาน Juno ขณะโคจรเข้าไปเฉียดใกล้ดาวพฤหัส แสดงให้เห็นบริเวณกลุ่มเมฆและพายุเหนือผิวดาวที่ดูคล้ายใบหน้าของมนุษย์   ภาพดังกล่าวถูกบันทึกเมื่อวันที่ 7 กันยายน ในระหว่างการเฉียดใกล้ผิวดาวเป็นครั้งที่ 54 ด้วยระยะห่างประมาณ 7,700 กิโลเมตรจากชั้นเมฆ ซึ่งได้รับการประมวลผลโดย วลาดิเมียร์ ทาราซอฟ ประชาชนทั่วไปที่นำข้อมูลภา...
ดาว k2-18 b
12 กันยายน 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ ตรวจพบคาร์บอนไดออกไซด์และมีเทน ในชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์เขตเอื้อต่อการดำรงอยู่ของชีวิต

คณะนักดาราศาสตร์ได้ใช้ข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ตรวจพบมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ K2-18 b เป็นครั้งแรกที่มีการพบโมเลกุลทั้งสองในบรรยากาศของดาวเคราะห์เขตเอื้อต่อการอยู่อาศัยของชีวิต   คณะนักดาราศาสตร์ นำโดยศาสตราจารย์นิกกุ มาธุสุธาน จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ พบว่าดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ K2-18 b ที่มีมว...
ดาวพลูโต
24 สิงหาคม 2023

24 สิงหาคม 2006 – ดาวพลูโตถูกลดสถานะเป็นดาวเคราะห์แคระ

ดาวพลูโตที่ถูกค้นพบในปี 1930 ถูกนับเป็น 1 ในดาวเคราะห์ทั้ง 9 ของระบบสุริยะมาตลอด จนกระทั่งวันที่ 24 สิงหาคม 2006 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union: IAU) ได้ปรับเปลี่ยนสถานะดาวพลูโตจาก ‘ดาวเคราะห์’ เป็น ‘ดาวเคราะห์แคระ’ หรือดาวที่มีลักษณะคล้ายดาวเคราะห์หรือดาวเคราะห์น้อย เนื่องจากคุณสมบัติของดาวพลูโตตรงตามคำนิยามดาวเคราะห์แคระข...
เจมส์ เว็บบ์
25 กรกฎาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบไอน้ำในบริเวณที่มีดาวเคราะห์คล้ายโลกกำลังกำเนิด

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้พบหลักฐานของไอน้ำในจานฝุ่นก๊าซรวมมวล หรือ Protoplanetary Disk ชั้นในของระบบดาว PDS 70 เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่มีการพบหลักฐานของน้ำนอกระบบสุริยะในบริเวณที่อาจมีการก่อตัวของดาวเคราะห์หินคล้ายโลกขึ้น   PDS 70 เป็นดาวฤกษ์แบบดาวแคระส้ม (เย็นกว่าดวงอาทิตย์) อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 370 ปีแสง และมีดาวเคราะ...
ดาวศุกร์
10 กรกฎาคม 2023

ค่ำนี้เตรียมชมดาวศุกร์ หรือ ‘ดาวประจำเมือง’ สว่างที่สุดในรอบปีหากท้องฟ้าโล่ง ชมด้วยตาเปล่าตั้งแต่เวลา 19.00-21.09 น.

วันนี้ (10 กรกฎาคม) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการและสื่อสารทางดาราศาสตร์ (สดร.) เปิดเผยว่า ในช่วงค่ำของวันที่ 10 กรกฎาคม 2566 หลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า เวลาประมาณ 19.00-21.09 น. ดาวศุกร์จะปรากฏสว่างที่สุด คาดว่ามีค่าอันดับความสว่างปรากฏมากถึง -4.6 (ดวงจันทร์เต็มดวง มีค่าอันดับความสว่างปรากฏ -12)    หากสังเกตผ่านกล้องโ...
สหพันธ์ดาราศาสตร์นานาชาติ
9 มิถุนายน 2023

สหพันธ์ดาราศาสตร์นานาชาติ รับรองชื่อดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะภาษาไทย ‘แก้วโกสินทร์-ไพลินสยาม’

เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน เพจเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ระบุว่า สหพันธ์ดาราศาสตร์นานาชาติ หรือ IAU (The International Astronomical Union) ได้รับรองชื่อภาษาไทยของดาวฤกษ์แม่ GJ3470 และดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ GJ3470b ว่า ‘แก้วโกสินทร์’ และ ‘ไพลินสยาม’ นับเป็นระบบดาวเคราะห์นอกระบบ ระบบที่ 3 ที่มีชื่อเป็นภาษาไทย   สหพันธ์ดาราศาส...
9 พฤษภาคม 2023

นักวิจัย​พบดวงอาทิตย์​ในระบบดาวอื่นกลืนกินดาวเคราะห์​บริวารอย่างชัดเจน​เป็น​ครั้งแรก​ในวงการ​ดาราศาสตร์​

ดวงดาวแสนสวยที่กะพริบ​กันเต็มท้องฟ้า​ยามค่ำคืนที่มืดสนิทนั้น หากตัดดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ เช่น ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และดาวเสาร์ออกไปแล้ว ที่เหลือคือดาวฤกษ์ทั้งนั้น และที่สำคัญคือแทบไม่มีดาวฤกษ์ดวงไหนที่มองเห็นด้วยตาเปล่าจะมีขนาดจริงที่เล็กกว่าดวงอาทิตย์ของเราเลย   ที่เป็นแบบนั้นเพราะในความเป็นจริงแล้วดวงอาทิตย์ของเราแม้มีเส้นผ่...
ดาวเคราะห์ 2023 DW
10 มีนาคม 2023

NASA ชี้แจง ดาวเคราะห์ 2023 DW ที่เพิ่งค้นพบ ‘มีโอกาสน้อย’ ที่จะพุ่งชนโลกในปี 2046

สำนักงานประสานงานด้านการป้องกันเกี่ยวกับดาวเคราะห์ภายใต้องค์การ NASA ชี้แจงถึงกรณีดาวเคราะห์น้อย 2023 DW ที่เพิ่งค้นพบไปเมื่อช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาว่า หลังจากที่เฝ้าติดตามดาวเคราะห์น้อยดวงนี้พบว่ามีแนววงโคจรที่อาจจะพุ่งชนโลกในอีกราว 23 ปีข้างหน้า แต่เน้นย้ำว่ามี ‘โอกาสน้อย’ ที่มันจะพุ่งชนโลกในช่วงวันวาเลนไทน์ ปี 2046    หน่...
3 มีนาคม 2023

‘ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดี’ เจิดจรัสบนฟากฟ้า สว่างเด่นเห็นได้ด้วยตาเปล่า

ปรากฏการณ์ดาวเคราะห์ชุมนุม ‘ดาวศุกร์เคียงดาวพฤหัสบดี’ ที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ค่ำคืนนี้จะเป็นคืนสุดท้าย ตามที่สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ได้แจ้งว่าจะเกิดปรากฏการณ์นี้ช่วงหัวค่ำของวันที่ 1-3 มีนาคม ตั้งแต่หลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าจนถึงเวลาประมาณ 20.00 น. สว่างเด่นสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าทุกภูมิภาคทั่วไทย   ในช่วงค...
3 กุมภาพันธ์ 2023

นักดาราศาสตร์พบดวงจันทร์บริวารของดาวพฤหัสบดีเพิ่มอีก 12 ดวง ขึ้นแท่นดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์เยอะสุดในระบบสุริยะ

ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย (Minor Planet Center หรือ MPC) เปิดเผยว่า นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบดวงจันทร์บริวารของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เพิ่มขึ้นอีก 12 ดวง ทำให้ขณะนี้ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทร์บริวารทั้งสิ้น 92 ดวงแล้ว จากเดิมที่โลกเคยรู้ว่ามีแค่ 80 ดวงเท่านั้น ทำสถิติใหม่แซงหน้าแชมป์เก่าอย่างดาวเสาร์ที่มีดวงจันทร์บริวาร 83 ดวง    โดยดวงจันทร์บริวาร...

Close Advertising