×

ดาวฤกษ์

23 พฤศจิกายน 2024

นักดาราศาสตร์ถ่ายภาพดาวฤกษ์นอกทางช้างเผือก เห็นรายละเอียดได้เป็นครั้งแรก

นักดาราศาสตร์ประสบความสำเร็จในการถ่ายภาพดาวฤกษ์นอกกาแล็กซีทางช้างเผือก พร้อมเผยให้เห็นรายละเอียดอย่างใกล้ชิดได้เป็นครั้งแรก และพบว่าดาวดวงนี้กำลังจะถึงจุดจบของชีวิตในไม่ช้า   แม้ก่อนหน้านี้นักดาราศาสตร์อาจเคยถ่ายภาพดาวฤกษ์ในกาแล็กซีอื่นมาได้บ่อยครั้ง แต่ไม่มีรูปไหนที่แสดงให้เห็นรายละเอียดของดาวฤกษ์ได้เหมือนรูปล่าสุดจากเครือข่ายกล้องโทรทร...
14 กันยายน 2024

NASA เผยภาพกลุ่มดาวฤกษ์อายุน้อยที่ชายขอบกาแล็กซีทางช้างเผือก

ชวนดู ‘ดอกไม้ไฟ’ จากบรรดาดวงดาวเยาว์วัย ณ ชายขอบทางช้างเผือก ในภาพถ่ายล่าสุดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์   นักดาราศาสตร์ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ถ่ายภาพกระจุกดาวฤกษ์เกิดใหม่ในบริเวณชายขอบกาแล็กซีทางช้างเผือก เพื่อศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในอวกาศที่แตกต่างกัน   ภาพถ่ายดังกล่าวเผยให้เห็นพื้นที่เมฆโมเลกุล Digel Cloud 2S ที่ประ...
28 สิงหาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวฤกษ์เกิดใหม่ในเนบิวลา NGC 1333 สุดคมชัด

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพสุดคมชัดของเนบิวลา NGC 1333 แสดงให้เห็นดาวฤกษ์และดาวแคระน้ำตาลที่กำลังก่อตัว   เนบิวลาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของเมฆโมเลกุลเพอร์ซิอัส (Perseus Molecular Cloud) ที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 960 ปีแสง และเป็นบริเวณที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลบันทึกภาพไว้ในโอกาสฉลองครบ 33 ปีของภารกิจ เมื่อเดือนเมษายน ปี 2023   อย...
M82
16 เมษายน 2024

ภาพล่าสุดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยรายละเอียดใหม่แกนกลางกาแล็กซี M82 สุดคมชัด

นักดาราศาสตร์ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ถ่ายภาพบริเวณแกนกลางกาแล็กซี Messier 82 หรือ M82 แสดงให้เห็นรายละเอียดของบริเวณการกำเนิดดาวฤกษ์อย่างรวดเร็วเป็นครั้งแรก   กาแล็กซี M82 ได้รับความสนใจจากนักดาราศาสตร์มาอย่างต่อเนื่อง เพราะแม้จะมีขนาดเล็กเป็นครึ่งหนึ่งของกาแล็กซีทางช้างเผือก แต่กลับมีอัตราการกำเนิดดาวฤกษ์เร็วกว่าในทางช้างเผือ...
T CrB
3 เมษายน 2024

NASA ชวนดูโนวา T CrB การปะทุของดาวฤกษ์ในรอบ 80 ปี ที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้

ภายในเดือนกันยายน 2024 ลองมองไปยังกลุ่มดาวมงกุฎเหนือ หรือ Corona Borealis เพราะคุณอาจได้เห็นปรากฏการณ์นวดารา หรือโนวา T Coronae Borealis (T CrB) จากการปะทุของดาวแคระขาวในระบบดาวคู่กับดาวยักษ์แดง ราวกับมีดาวดวงใหม่กำเนิดขึ้น ที่มีความสว่างเทียบเท่ากับดาวเหนือบนท้องฟ้ายามค่ำคืน   สำหรับโนวา T CrB เป็นโนวาที่เกิดขึ้นซ้ำ มีคาบการปะทุในช่วงปร...
10 สิงหาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ ศึกษาดาวฤกษ์ไกลจากโลกที่สุด เผยลักษณะและรายละเอียดครั้งแรก

NASA ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ศึกษา ‘Earendel’ ดาวฤกษ์ไกลที่สุดที่เคยตรวจพบ พร้อมเผยให้เห็นว่าเป็นดาวฤกษ์แบบ B-type ที่ร้อนและสว่างกว่าดวงอาทิตย์ รวมทั้งพบความเป็นไปได้ที่อาจมีดาวฤกษ์คู่หูอีกดวง   Earendel ที่แปลว่าดาวรุ่งอรุณ หรือ WHL0137-LS ถูกค้นพบในปี 2022 ด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทำลายสถิติเป็นดาวฤกษ์ยุคแรกสุด และ...
Herbig-Haro 46-47
31 กรกฎาคม 2023

เจมส์ เว็บบ์ ถ่ายติดวัตถุคล้าย ‘เครื่องหมายคำถาม’ อยู่ในภาพดาวฤกษ์กำลังก่อตัว

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ บันทึกภาพพื้นที่ดาวฤกษ์กำลังก่อตัว Herbig-Haro 46/47 สุดคมชัดได้เป็นครั้งแรก แต่ถูกแย่งซีนด้วย ‘เครื่องหมายคำถาม’ ในจักรวาลที่ปรากฏอยู่เบื้องล่างของวัตถุดังกล่าว   Herbig-Haro 46/47 เป็นดาวฤกษ์อายุน้อยที่ถูกห้อมล้อมด้วยก๊าซและจานมวลวัตถุที่คอยเพิ่มมวลให้กับดาวฤกษ์อายุน้อยในช่วงของการก่อตัว ที่อยู่ห่างจากโล...
James Webb Space Telescope
13 กรกฎาคม 2023

ย้อนดูผลงานกล้องโทรทรรศน์เจมส์ เว็บบ์ ครบ 1 ปี มีภาพน่าทึ่งอะไรบ้าง

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2022 ประธานาธิบดีโจ ไบเดน แห่งสหรัฐอเมริกา ได้เปิดเผยภาพถ่ายจากคลื่นอินฟราเรดภาพแรกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ในระหว่างการแถลงข่าว ณ ทำเนียบขาว โดยเป็นภาพจากห้วงอวกาศที่ลึกที่สุดและคมชัดมากที่สุดเท่าที่กล้องโทรทรรศน์เคยบันทึกมาได้ ถือเป็นภาพประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ และเป็นการเปิดตัวผลงานของเจมส์ เว็บบ์ ไ...
ดาวฤกษ์
12 กรกฎาคม 2023

พบดาวฤกษ์เกิดใหม่ 50 ดวง ในภาพถ่ายกลุ่มก๊าซ Rho Ophiuchi จากกล้องเจมส์ เว็บบ์

เย็นวันนี้ (12 กรกฎาคม) ตามเวลาประเทศไทย NASA และ ESA ได้ร่วมกันเผยแพร่ภาพถ่ายของกลุ่มก๊าซกำเนิดดาวฤกษ์ ‘โร โอฟิวคี’ (Rho Ophiuchi) ที่อยู่ห่างจากระบบสุริยะไปประมาณ 390 ปีแสง ในโอกาสฉลองครบรอบ 1 ปี การปฏิบัติภารกิจสำรวจจักรวาลของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   ในภาพถ่ายนี้ นักดาราศาสตร์ได้พบดาวฤกษ์เกิดใหม่มากกว่า 50 ดวง ที่มีมวลคล้ายดว...
ดาวฤกษ์ยังไม่วิวัฒนาการ
6 กรกฎาคม 2022

ทุบสถิติ! จีนพบ ‘ดาวฤกษ์ยังไม่วิวัฒนาการ’ อุดมด้วยลิเธียม 9 ดวงใหม่ สูงกว่าปริมาณลิเธียมของดวงอาทิตย์ราว 3 เท่า

วันนี้ (6 กรกฎาคม) ทีมผู้เชี่ยวชาญนำโดยคณะนักวิจัยจากหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์แห่งชาติ สังกัดสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน ค้นพบดาวฤกษ์ยังไม่วิวัฒนาการที่อุดมไปด้วยลิเธียม จำนวน 9 ดวง ซึ่งเป็นสถิติมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ ด้วยการประยุกต์ใช้กล้องโทรทรรศน์ลามอสต์ (LAMOST) กล้องโทรทรรศน์ที่ทำงานในย่านความถี่ที่ตามองเห็นขนาดใหญ่ที่สุดของจีน โดยลิเธียมจัดเป...


Close Advertising
X