×

ความเท่าเทียมทางเพศ

19 ธันวาคม 2018

ม.นเรศวร ไฟเขียวให้นิสิตแต่งเครื่องแบบตามเพศสภาพ นักวิชาการชี้ เป็นความก้าวหน้า

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยเครื่องแต่งกายของนิสิตขั้นปริญญาตรี โดยกำหนดเครื่องแต่งกายของนิสิตขั้นปริญญาตรีให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน สามารถแต่งกายตาม ‘เพศสภาพ’ ได้ มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา นั่นคือตั้งแต่วันที่ 17 ธันวาคม 2561 เป็นต้นไป ลงนามโดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์กระ...
18 ธันวาคม 2018

รายงาน WEF ระบุ ต้องใช้เวลาถึง 202 ปี ในการสร้างสังคมโลกที่เท่าเทียมกันทางเพศ

รายงานล่าสุดของ World Economic Forum (WEF) ระบุว่า ประเด็นความเท่าเทียมในเรื่องเงินเดือนหรือค่าตอบแทนมีการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2017 ที่ผ่านมา ในขณะที่ดัชนีช่องว่างระหว่างเพศ (Global Gender Gap) กลับขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 10 ปี   ถึงแม้ว่าผู้หญิงอาจจะมีสิทธิและเสียงที่ดังขึ้นในประเด็นเกี่ยวกับการปฏิบัติและ...
18 ธันวาคม 2018

‘ออม สุชาร์’ และ ‘ปีเตอร์ เดนแมน’ เปิดชีวิตบนเส้นทางบันเทิงและผลงานล่าสุด รักพลิกล็อก – THE STANDARD Daily 18 ธันวาคม 2561

THE STANDARD Daily ประจำวันที่ 18 ธันวาคม 2561 เวลา 20.00 น.       คุยสดกับ ‘ออม สุชาร์’ และ ‘ปีเตอร์ เดนแมน’ เปิดชีวิตบนเส้นทางบันเทิงและผลงานล่าสุด รักพลิกล็อก พร้อมประเด็นข่าวน่าสนใจ WEF ระบุต้องใช้เวลาถึง 202 ปี กว่าโลกจะเท่าเทียมทางเพศ GoodWalk จัดอันดับ 'บางรัก' ย่านเดินที่ดีที่สุดในกรุงเ...
26 พฤศจิกายน 2018

รายงาน UN เผย ‘บ้าน’ เป็นสถานที่อันตรายที่สุดสำหรับผู้หญิง เหตุเกินครึ่ง แฟน-คนในครอบครัวฆ่า

สหประชาชาติ (UN) ตีพิมพ์รายงานประเด็นความรุนแรงต่อสตรี เผย คดีฆาตกรรมที่มีเหยื่อเป็นผู้หญิงเกินกว่าครึ่งเกิดจากฝีมือของคนรักหรือสมาชิกในครอบครัว จนบ้านไม่ต่างอะไรจาก ‘สถานที่ที่อันตรายที่สุดสำหรับผู้หญิง’   ข้อมูลที่รวบรวมโดยสำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC) ชิ้นนี้ถูกเผยแพร่ขึ้นวานนี้ เนื่องใน ‘วันยุติความรุนแรง...
8 พฤศจิกายน 2018

เปิดสถิติผู้หญิงกับพื้นที่ในการเมืองโลก

ตลอดช่วงระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ผู้หญิงถือว่ามีบทบาทเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ทางการเมือง พื้นที่ที่ครั้งหนึ่งเคยถูกสงวนไว้ให้กับผู้ชายเท่านั้น จนถึงวันนี้มีประเทศที่เคยมีผู้นำหญิงขึ้นมาบริหารประเทศแล้วถึง 87 ประเทศ ในขณะที่ประเทศพี่ใหญ่ในโลกเสรีประชาธิปไตยอย่างสหรัฐอเมริกาหรือญี่ปุ่นยังไม่เคยมีผู้นำประเทศเป็นผู้หญิงแม้แต่คนเดียว   ใ...
26 ตุลาคม 2018

ซาห์เล เวิร์ก ซิวเด ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีหญิงคนแรกของเอธิโอเปีย

สมาชิกรัฐสภาเอธิโอเปียลงคะแนนเสียงเลือก ซาห์เล เวิร์ก ซิวเด (Sahle-Work Zewde) อดีตนักการทูตเอธิโอเปียประจำเซเนกัลและจิบูตี ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีหญิงคนแรกของเอธิโอเปีย และเป็นผู้นำหญิงเพียงคนเดียวในทวีปแอฟริกาที่กำลังบริหารประเทศในฐานะ Head of State อยู่ในขณะนี้   โดยซิวเดสัญญาว่าเธอจะสร้างสังคมที่เท่าเทียมกันทางเพศให้เกิดขึ้นในประ...
5 ตุลาคม 2018

10 ประเทศที่มีความเท่าเทียมทางเพศมากที่สุดในเอเชียปี 2017

นับตั้งแต่ปี 2006 World Economic Forum ได้จัดทำรายงานสถานการณ์ความเท่าเทียมทางเพศชายทั่วโลก โดยใช้ดัชนี Global Gender Gap Index โดยช่วงหลายปีที่ผ่านมา หลายภูมิภาคได้ลดช่องว่างความไม่เสมอภาคระหว่างเพศชายและหญิง แต่ก็ยังมีอีกหลายประเทศที่ต้องพัฒนาความเท่าเทียมในด้านเศรษฐกิจ การศึกษา การเข้าถึงบริการสาธารณสุข และโอกาสทางการเมือง   และนี่คือ...
12 กันยายน 2018

ไม่มีแดนสีรุ้งสำหรับเธอ สำรวจชีวิตและการปฏิบัติต่อนักโทษ LGBT ในเมืองไทย เท่าเทียมหรือถูกต้อง?

ในบริบทเรื่องความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยของเรามีประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจและควรจะหยิบยกขึ้นมาพูดถึง นั่นคือเรื่อง ‘ชีวิตของ LGBT ในเรือนจำ’   พื้นที่จองจำนักโทษต้องคดีต่างๆ ที่จะต้องมาอยู่ร่วมกันในพื้นที่เล็กๆ และใช้ชีวิตอยู่ตามเวลาที่ถูกกำหนด ไหนจะเรือนจำบางขวาง คลองเปรม คำว่าแดน 3 แดน 5 ทัณฑสถานหญิง หรือสุดแล้วแต่คุณจะคุ้นคำไหน แต่เราเ...
8 กันยายน 2018

สตอกโฮล์ม เมืองหลวงสวีเดน ต้นกำเนิด Spotify, Avicii, Byredo, Acne Studios ที่คุณต้องไปสักครั้ง

“ไปกินมีตบอลที่อิเกียสิ!” คือหนึ่งในประโยคที่เคยมีคนพูดขึ้นอย่างตื่นเต้น พอบอกว่ากำลังจะกลับไปเที่ยวสวีเดน เพื่อไปหาคุณย่าที่อยู่ทางตอนใต้ประเทศ (ผมเป็นลูกครึ่งไทย-สวีเดน) ซึ่งแม้จะดีใจว่าหนึ่งในอาหารจานสำคัญของสวีเดน จะเป็นที่โปรดปรานของหลายคนทั่วโลกรวมถึงที่ไทย แต่ผมกล้าพูดว่าประเทศสวีเดนมีอะไรให้ค้นหามากกว่าเนื้อทอดกลมๆ เสิร์ฟกับมันบดและซอส Ling...
16 สิงหาคม 2018

ผู้หญิงคือพระเจ้า รู้จัก Goddess Movement ขบวนการรื้อฟื้นศาสนาผู้หญิงในโลกตะวันตก

ทศวรรษ 1970 เป็นช่วงที่เกิดกระบวนการที่ต้องการรื้อฟื้นศาสนาที่มีผู้หญิงเป็นเทพ หรือเป็นใหญ่ขึ้นในโลกตะวันตก ทั้งนี้เป็นผลมาจากคำถามที่ว่าทำไมศาสนาใหญ่ทั่วโลกจึงต้องมีศาสดาหรือพระเจ้าเป็นผู้ชาย ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธเจ้า พระมหาวีระ พระเยซู หรือแม้แต่ขงจื๊อ   ขบวนการรื้อฟื้นนี้เรียกว่า ‘Goddess Movement’ ขอแปลคร่าวๆ ว่า ‘ขบวนการบูชาเทวสตรี’ ...


Close Advertising
X