×

หมอผิง-ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล

19 ตุลาคม 2018

ความคิดสร้างสรรค์คืองานมาราธอน

ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการอึดแบบมาราธอนหรือฮึดสั้นๆ แบบวิ่ง 100 เมตร?   ความคิดสร้างสรรค์เป็นหนึ่งในคุณสมบัติพิเศษของมนุษย์เรา ตั้งแต่เครื่องมือที่ทำจากหินเมื่อ 2.6 ล้านปีก่อน จวบจนเทคโนโลยี Artificial Intelligence ที่กำลังเปลี่ยนแปลงโลกทุกวันนี้ล้วนเป็นผลพวงจากกระบวนการคิดสร้างสรรค์     นักวิทยาศาสตร์พยายามวิจัยเพ...
17 ตุลาคม 2018

หมอผิง ธิดากานต์ หาจุดสมดุลในการเรียน การถูกบังคับ และถูกเปรียบเทียบ

ติดตามรายการ ‘AIS Presents THE STANDARD แนะแนว by LG and Friends’ ออกอากาศสดเดือนละครั้ง เวลา 21.00 น. ทาง Facebook Live และ Youtube Live ของ Thestandardth ...
5 ตุลาคม 2018

หมอผิง ธิดากานต์ ยอมรับข้อผิดพลาดให้ได้ และให้กำลังใจตัวเองให้เป็น

ติดตามรายการ ‘AIS Presents THE STANDARD แนะแนว by LG and Friends’ ออกอากาศสดเดือนละครั้ง เวลา 21.00 น. ทาง Facebook Live และ Youtube Live ของ Thestandardth ...
29 กันยายน 2018

THE STANDARD แนะแนว by LG and Friends: คุยกับ ‘หมอผิง ธิดากานต์’ คุณหมอคนสวยผู้ทรงอิทธิพลแห่งโลกโซเชียล

‘ครูลูกกอล์ฟ-คณาธิป’ ชวน ‘หมอผิง ธิดากานต์’ คุณหมอคนสวยผู้ทรงอิทธิพลแห่งโลกโซเชียล ที่มีผู้ติดตามในทวิตเตอร์กว่า 700,000 คน มาเปิดเส้นทางชีวิตการเรียน ครั้งแรก! กับเรื่องราวน่าทึ่งและน่าเรียนรู้ที่เธอไม่เคยเปิดเผยที่ไหน มาดูกันว่าเธอจะอยู่ในตัวเลือกไหนระหว่าง   A) เป็นเด็กขี้เกียจและชอบชวนเพื่อนโดดเรียน B) ไม่เข้าใจว่าโรงเรียนมีกฎต่าง...
26 มีนาคม 2018

เงินซื้อความสุขได้ไหม?

เราอยู่ในยุคที่คนจำนวนไม่น้อยในสังคม มีความฝันร่วมกันคือ อยากจะ ‘ลาออกครั้งสุดท้าย’ เพื่อทำธุรกิจให้มีรายได้ในระดับ ‘อายุน้อยร้อยล้าน’ และใช้ชีวิตราวกับ ‘ทุกวันคือวันหยุด’ เพราะเราเชื่อว่า ความสำเร็จและการมีอิสรภาพทางการเงิน คือสูตรสำเร็จของความสุข แต่เงินซื้อความสุขได้...จริงหรือ?   เพราะการศึกษาความสุขเป็นเรื่องน่าสนุก จึงมีนักวิจัยหลา...
2 มีนาคม 2018

Sleepless in Japan

“My head was always foggy. I couldn’t get an accurate fix on the things around me - their distance or mass or tenure. The drowsiness would overtake me at regular, wavelike intervals: on the subway, in the classroom, at the dinner table. My mind would slip away from my body. The world would sway soundlessly.”   ภาพจิตรกรรม Another Sleeple...
5 กุมภาพันธ์ 2018

สมการของความโสด

ถ้าคุณเห็นชื่อบทความนี้แล้วคลิกเข้ามาอ่านทันที ความเป็นไปได้ที่คุณยังโสดอยู่ (หรือลังเลว่าอยากโสด) นั้นมีสูง   ด้วยบริบททางสังคมและค่านิยมที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน การเลือกที่จะอยู่เป็นโสดไม่ใช่เรื่องใหญ่หรือผิดแผกแตกต่างดังในอดีต แต่เชื่อว่าสำหรับคนโสดบางคนก็อาจยังมีข้อสงสัยลึกๆ ในใจว่า ‘ทำไมเราถึงยังโสดอยู่ล่ะ?’   ปีเตอร์ แบ็ค...
11 ธันวาคม 2017

จาก Nobel สู่ Knowledge ตอนที่ 3 เกิดอะไรขึ้นเมื่อเราแข็งขืนกับธรรมชาติของการนอน

ความรู้ มักมีจุดเริ่มต้นมาจาก ‘ความไม่รู้’ แต่ ‘กระหายใคร่รู้’   ‘นาฬิกาชีวภาพ’ ถูกหยิบยกขึ้นมาในวงการวิทยาศาสตร์เป็นครั้งแรกเมื่อศตวรรษที่ 18 เมื่อนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศสเกิดความสงสัยว่า พืชบางชนิดที่ใบชูชันในตอนกลางวัน แต่หุบอย่างเจียมตัวเมื่อตกกลางคืนจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรหากไม่มีแสงอาทิตย์มากระตุ้น เขาจึงนำต้นไมยราบ (Mimosa Pudi...
27 พฤศจิกายน 2017

จาก Nobel สู่ Knowledge ตอนที่ 2 ออโตฟาจี้

“ผมเป็นแค่นักชีววิทยาธรรมดาๆ คนหนึ่ง ที่ทำงานกับยีสต์มาเป็นเวลา 40 ปี ยีสต์ได้ให้บทเรียนอะไรหลายอย่างกับผม และยังให้ของขวัญซึ่งเป็นของโปรดของผมเลย นั่นคือ สาเก!”   โยชิโนริ โอซูมิ กล่าวติดตลกในสุนทรพจน์หลังจากรับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ปี 2016 จากการค้นพบรายละเอียดกลไกการทำงานของกระบวนการ ออโตฟาจี้ (Autophagy) เขาใช้เวลากว่า 40 ปี ในการเพ...
13 พฤศจิกายน 2017

จาก Nobel สู่ Knowledge ตอนที่ 1 เทโลเมียร์

     ตั้งแต่วัยมัธยม อาจด้วยความเป็นเด็กที่เรียนมาสายวิทยาศาสตร์ หมอจะตื่นเต้นเบาๆ ทุกครั้งเมื่อได้ยินการประกาศผลโนเบล โดยเฉพาะโนเบลสาขาทางการแพทย์ แต่ก็ต้องแอบยอมรับว่าหลายครั้งที่อ่านตามข่าวแล้วไม่เข้าใจว่าสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์และแพทย์อัจฉริยะเหล่านี้ค้นพบคืออะไร แล้วมันจะมาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราได้ยังไง รู้แต่ว่ามันคงยิ่...


Close Advertising