×

วิทยาศาสตร์

12 ตุลาคม 2022

ไม่ใช่นิสัย แต่มันคือวิถี! วิทยาศาสตร์ชี้ คนขี้เกียจมีแนวโน้มจะเป็นคนฉลาด ประสบความสำเร็จสูง และเป็นลูกจ้างที่ดีกว่า

โลกเรามีศัพท์มากมาย และศัพท์ต่างๆ สามารถแบ่งโซนได้ว่าอยู่โซนบวก (Positive) โซนกลางๆ (Neutral Zone) หรือโซนลบ (Negative) ขึ้นชื่อว่าความขี้เกียจ เราอาจมองว่ามันเป็นสิ่งที่แย่ และยังไงก็อยู่ในโซนลบแน่ๆ แต่ถ้ามันไม่ได้เป็นอย่างที่เราเข้าใจล่ะ? ถ้าหากความขี้เกียจสามารถทำให้คนประสบความสำเร็จได้ หรือมันบ่งชี้ว่าแท้จริงแล้วคนคนนั้นเป็นคนฉลาดถึงขั้นอัจฉริย...
4 ตุลาคม 2022

3 นักวิทยาศาสตร์ สหรัฐฯ ฝรั่งเศส ออสเตรีย ร่วมคว้ารางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ จากผลงานวิจัยเทคโนโลยีควอนตัม

คณะกรรมการรางวัลโนเบล ประกาศผลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปีนี้ โดยมีผู้ชนะรางวัลร่วมเป็นนักวิทยาศาสตร์ 3 คน ได้แก่ ศาสตราจารย์จอห์น ฟรานซิส เคลาเซอร์ นักฟิสิกส์ทฤษฎีและการทดลองชาวอเมริกัน, ศาสตราจารย์อาแลง อาสเป นักฟิสิกส์เชิงทดลองชาวฝรั่งเศส และศาสตราจารย์อันตัน เซลลิงเกอร์ นักฟิสิกส์ควอนตัมชาวออสเตรีย จากผลงาน ‘การศึกษาทดลองการพัวพันเชิงควอนตัม (...
ชาร์ลส์ ดาร์วิน
2 ตุลาคม 2022

2 ตุลาคม 1836 – ชาร์ลส์ ดาร์วิน สิ้นสุดการเดินเรือสำรวจทางธรรมชาติวิทยานาน 5 ปี

ชาร์ลส์ ดาร์วิน นักธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไปกับเรือสํารวจบีเกิลของรัฐบาลอังกฤษ ซึ่งเดินทางไปสํารวจและทําแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีปอเมริกาใต้   ตลอดการเดินทางไปกับเรือหลวงบีเกิลเป็นเวลาเกือบ 5 ปี (27 ธันวาคม ค.ศ. 1831 ถึง 2 ตุลาคม ค.ศ. 1836) ดาร์วินได้เรียนรู้และมีประสบการณ์มากมาย เขาได้แนวความคิดและการวิเคราะห์จากสิ่งท่ีได้พบเห็น รวมทั้งส...
มะเขือเทศสีม่วง
20 กันยายน 2022

มะเขือเทศไม่ใช่ ‘สีแดง’ อีกต่อไป ล่าสุด USDA ได้อนุมัติมะเขือเทศ ‘สีม่วง’ จากการดัดแปลงพันธุกรรมแล้ว

มะเขือเทศ ‘สีแดง’ สามารถพบเห็นได้ทั่วไปตามท้องตลาด แต่ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปเราอาจได้พบเจอกับมะเขือเทศ ‘สีม่วง’ เพิ่มมากขึ้น เพราะล่าสุดกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา (USDA) ได้อนุมัติมะเขือเทศสีม่วงดัดแปลงพันธุกรรมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว   การดัดแปลงดังกล่าวมาจาก Norfolk Plant Sciences ซึ่งมะเขือเทศสีม่วงนี้มีรสชาติที่ไม่แตกต่างจากมะเขือเทศสี...
กล้วยสุก
19 กันยายน 2022

วิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้วว่า ใน ‘กล้วยสุก’ มี ‘แอลกอฮอล์’

ผลไม้แต่ละชนิดก็มีรสชาติที่แตกต่างกันไป ตั้งแต่หวาน ขม และเปรี้ยว ขึ้นอยู่กับระยะเวลาหรือสายพันธุ์ ซึ่งความหลากหลายของรสชาติเหล่านี้ทำให้ผลไม้หลายชนิดสามารถนำมาทำเป็นเครื่องดื่มได้ทั่วไป ไปจนถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์   เป็นอันรู้กันว่าหากพูดถึงไวน์จะต้องนึกถึงองุ่น ซึ่งไม่เพียงแต่องุ่นเท่านั้นที่สามารถนำมาหมักได้ ยังรวมไปถึงสับปะรด, ฝรั่ง,...
25 สิงหาคม 2022

วิทยาศาสตร์ช่วยไขปริศนา เกิดอะไรกับสมองเด็กที่ติด TikTok งอมแงม ความกังวลที่อาจนำไปสู่ ‘โรคสมาธิสั้น’

ปกติวัยเด็กก็เป็นวัยซุกซนยากที่พ่อแม่จะรับมืออยู่แล้ว แต่สำหรับเด็กในยุคปัจจุบันดูเหมือนอะไรๆ มันจะยิ่งยากขึ้นไปอีกเมื่อโลกมี TikTok ซึ่งกำลังเป็นปัญหาชีวิตของน้องๆ หนูๆ เพราะการติดคลิปสั้นแบบงอมแงมนั้นได้ทำร้ายพวกเขาโดยไม่รู้ตัว ซึ่งเรื่องนี้วิทยาศาสตร์มีคำตอบบ้างแล้ว   เพราะขนาดพ่อแม่ลุงป้าน้าอายังติด TikTok งอมแงมไถกันทั้งวันทั้งคืนโด...
บางกอกวิทยา
18 สิงหาคม 2022

‘วิทยาศาสตร์ไม่มีความลำเอียง’ ชัชชาติชวนร่วมกิจกรรม ‘บางกอกวิทยา’ ตลอดเดือนสิงหาคมนี้

วานนี้ (17 สิงหาคม) ที่ลานกิจกรรม ศูนย์การค้าสามย่านมิตรทาวน์ ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พร้อมด้วย ศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, รวิน ระวิวงศ์ ผู้อำนวยการองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ และผู้เกี่ยวข้อง เข้าร่วมงาน NST Fair Science Carnival Bangkok และเดินชมนิทรรศการต่างๆ    ชัชชาติกล่าวว่...
วิสกี้
5 สิงหาคม 2022

ไขข้อสงสัย ทำไมเราเติมน้ำเปล่าในวิสกี้ วิทยาศาสตร์มีคำตอบ

การดื่มเพื่อสังสรรค์หรือเพื่อการผ่อนคลายนั้น ต่างมีเครื่องดื่มที่หลากหลายชนิดให้เลือกดื่มตามความชอบหรือความสะดวกของแต่ละคน ซึ่งในแต่ละเครื่องดื่มก็มีการจับคู่กับเครื่องดื่มอีกชนิดเพื่อให้ได้ประสบการณ์รวมถึงรสสัมผัสที่แปลกใหม่   สำหรับเครื่องดื่มอย่าง ‘วิสกี้’ ที่อาจเป็นที่ชื่นชอบของใครหลายคน ก็มีหลายความเห็นเกี่ยวกับการดื่มเพื่อให้ได้รสช...
L’Oreal
3 สิงหาคม 2022

L’Oreal เดินหน้าสู่ความงามแห่งอนาคต ชูวิจัยหลักวิทยาศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อมเต็มรูปแบบ

L’Oreal เป็นหนึ่งในแบรนด์ที่ให้ความสำคัญด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมต่างๆ มากมายอย่างไม่หยุดนิ่ง เพื่อปฏิวัติอุตสาหกรรมและเป็นผู้นำด้าน Beauty Tech โดยในด้านความยั่งยืน มีการนำปรัชญา Green Sciences มาใช้ในการวิจัยสูตรผลิตภัณฑ์อย่างเต็มรูปแบบ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการบรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืนสำหรับปี 2030 ภายใต้พันธสัญญา L’Oreal for the Future ที่ม...
หนอนนกยักษ์
11 มิถุนายน 2022

งานวิจัยออสเตรเลียชี้ หนอนนกยักษ์กินพลาสติก ‘ความหวังของการรีไซเคิล’

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ของออสเตรเลีย เปิดเผยผลการวิจัยพบว่า ‘หนอนนกยักษ์ (Zophobas morio)’ หรือที่รู้จักกันในชื่อ Superworm ซึ่งเป็นระยะตัวอ่อนของด้วง Zophobas สามารถเอาชีวิตรอดได้ด้วยการกิน ‘โพลีสไตรีน (Polystyrene)’ หรือพลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติก ที่ใช้ในการผลิตวัสดุและบรรจุภัณฑ์ต่างๆ    จากการวิจัยเชื่อว่า หนอนน...

Close Advertising