×

ดาราศาสตร์

เจมส์ เว็บบ์
21 กรกฎาคม 2022

นักวิทย์เผย กล้องโทรทรรศน์เจมส์ เว็บบ์ อาจค้นพบ ‘กาแล็กซีที่เก่าแก่ที่สุดในจักรวาล’ รอยืนยันข้อมูลเพิ่มเติม

เอกภพของเรายังเต็มไปด้วยเทหวัตถุลึกลับที่รอคอยให้มนุษย์ได้ค้นพบ และนี่เป็นอีกครั้งที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ จ่อสร้างประวัติศาสตร์ด้วยการบันทึกภาพของกาแล็กซีที่ว่ากันว่า ‘เก่าแก่’ ที่สุดที่มนุษย์เคยรู้จัก   โรฮาน ไนดู (Rohan Naidu) นักวิทยาศาสตร์จาก Harvard Center for Astrophysics ซึ่งทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากภาพของกล้องโทรทรรศน์เจ...
15 กรกฎาคม 2022

ชมคลิป: วิเคราะห์ภาพประวัติศาสตร์จากกล้อง ‘เจมส์ เว็บบ์’ หรือจักรวาลห่างเราแค่เอื้อม?

วิเคราะห์ภาพประวัติศาสตร์จากกล้อง ‘เจมส์ เว็บบ์’ หรือจักรวาลห่างเราแค่เอื้อม? กับ มติพล ตั้งมติธรรม นักวิชาการดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ...
THE STANDARD NOW
14 กรกฎาคม 2022

ชมคลิป: ‘ลำปางเอฟเฟ็กต์’ ธรรมนัสตีจากประยุทธ์ / ไข 5 ภาพประวัติศาสตร์ กล้องเจมส์ เว็บบ์

LIVE: ลำปางเอฟเฟ็กต์’ ธรรมนัสตีจากประยุทธ์ / ไข 5 ภาพประวัติศาสตร์ กล้องเจมส์ เว็บบ์    กระแสแพ้เลือกตั้ง ‘ลำปางเอกเฟ็กต์’ ส่งผลสะเทือน ‘ธรรมนัส’ ตัดสินใจล้มโต๊ะรัฐบาล ‘ไผ่-บุญสิงห์’ ลาออกวิป หนีคำครหานกสองหัว คุยเรื่องนี้กับ นิโรธ สุนทรเลขา ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล)   วิเคราะห์ภาพประวัติศาสตร์กล...
Super Full Moon
14 กรกฎาคม 2022

ยลโฉมความงดงามของ ‘ซูเปอร์ฟูลมูน’ จากขอบฟ้าทั่วโลก

วานนี้ (13 กรกฎาคม) ผู้คนทั่วโลกต่างให้ความสนใจกับปรากฏการณ์ ‘ซูเปอร์ฟูลมูน’ (Super Full Moon) ซึ่งเป็นค่ำคืนที่ดวงจันทร์เต็มดวงโคจรเข้ามาใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี โดยข้อมูลจากเฟซบุ๊กเพจ ‘NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ’ ระบุว่า ดวงจันทร์ค่ำคืนวานนี้มีระยะห่างจากโลก 357,256 กิโลเมตร ซึ่งหากเทียบกับช่วงเวลาที่ดวงจันทร์โคจรอยู่ไกลจากโลกมากที่สุดนั้...
James Webb Space Telescope
14 กรกฎาคม 2022

เรารู้อะไรจาก 5 ภาพประวัติศาสตร์ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์

เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา (12 กรกฎาคม) NASA ร่วมด้วยองค์การอวกาศยุโรป และองค์การอวกาศแคนาดา ได้เปิดเผยภาพสีชุดแรกของหมู่เทหวัตถุบนเอกภพที่ถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ (JWST) ทั้งหมด 5 ภาพด้วยกัน ซึ่งภาพเหล่านั้นได้ตอกย้ำศักยภาพอันเหนือชั้นของ JWST ที่อาจช่วยวงการดาราศาสตร์ไขปริศนาความลับของจักรวาลที่โลกยังไม่เคยทราบมาก่อน และนี่คือสิ่งที่เร...
พื้นที่อนุรักษ์ท้องฟ้ามืด
13 กรกฎาคม 2022

ห้วยน้ำดัง ผาแต้ม ป่าหินงาม และอีกหลายพื้นที่ ขึ้นทะเบียน ‘พื้นที่อนุรักษ์ท้องฟ้ามืด’ สนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์

เราดีใจที่เห็นโปรเจกต์นี้เกิดขึ้นในไทย และนั่นหมายถึงว่า คนไทยจะมีแหล่งดูดาวมากขึ้นไปอีก    เมื่อวานนี้ (12 กรกฎาคม) รัชฎา สุริยกุล ณ อยุธยา อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เผยว่า หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดจำนวน 5 แห่ง เข้ารับโล่พร้อมใบประกาศรับรองการขึ้นทะเบียนอุทยานฯ เป็นพื้นที่อนุรักษ์ท้องฟ้ามืดในประเทศไทย ประจำปี 2565...
James Webb Space Telescope
13 กรกฎาคม 2022

รวมผลงานภาพถ่ายแรกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์

ในที่สุด หลังการรอคอยอย่างยาวนาน กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ - JWST (James Webb Space Telescope) ก็ได้แสดงให้เราเห็นถึงความคุ้มค่าของโครงการศึกษาดาราศาสตร์อินฟราเรดที่แพงที่สุดและทันสมัยที่สุดเท่าที่เคยมีมา ด้วยการเปิดแผยให้เราได้เห็นภาพอันน่าตื่นตาตื่นใจของอวกาศห้วงลึกที่ไกลและชัดเจนที่สุดยิ่งกว่าภาพจากกล้องโทรทรรศน์ใดๆ จะทำได้ โดยทางทีมงานของ...
James Webb Space Telescope
13 กรกฎาคม 2022

ชม 5 ภาพประวัติศาสตร์จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์

เมื่อค่ำคืนวานนี้ (12 กรกฎาคม) NASA ร่วมด้วยองค์การอวกาศยุโรป (ESA) และองค์การอวกาศแคนาดา (CSA) ได้เปิดเผยภาพสีของหมู่เทหวัตถุบนเอกภพที่ถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ เพิ่มเติมอีก 4 ภาพด้วยกัน หลังปล่อยภาพกระจุกดาราจักร SMACS 0723 ที่เรียกเสียงฮือฮาจากผู้ชมทั่วโลกไปเมื่อช่วงเช้าของวันเดียวกัน รวมทั้งหมดเป็น 5 ภาพประวัติศาสตร์ ซึ่งถือเป็นก้า...
James Webb
12 กรกฎาคม 2022

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ เจมส์ เว็บบ์ เผยภาพถ่ายแรกจากห้วงอวกาศที่ลึกที่สุดเท่าที่เคยบันทึกได้

วานนี้ (11 กรกฎาคม) ประธานาธิบดีโจ ไบเดน แห่งสหรัฐอเมริกา ได้เปิดเผยภาพถ่ายจากคลื่นอินฟราเรดภาพแรกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ของ NASA ในระหว่างการแถลงข่าว ณ ทำเนียบขาว โดยเป็นภาพจากห้วงอวกาศที่ลึกที่สุดและคมชัดมากที่สุดเท่าที่กล้องโทรทรรศน์เคยบันทึกมาได้    ภาพกระจุกดาราจักร SMACS 0723 นี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ Webb’s First ...
SpinLaunch
25 มิถุนายน 2022

‘SpinLaunch’ วิถีใหม่แห่งการส่งดาวเทียมขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ ด้วยการหมุนที่ ‘ไวกว่าเสียง’

‘SpinLaunch’ บริษัทสตาร์ทอัพจากแคลิฟอร์เนียต้องการยิงดาวเทียมออกสู่อวกาศผ่านการหมุนที่ ‘ไวกว่าเสียง’ โดยมันเป็นวิธีการที่แปลกใหม่สำหรับการปล่อยดาวเทียมสู่ชั้นบรรยากาศ   บริษัทวางแผนจะใส่ดาวเทียมไว้ในจรวดรูปร่างคล้ายปากกาที่กว้างประมาณ 300 ฟุต หมุนมันด้วยเครื่องยนต์ความเร็วสูงและส่งออกขึ้นชั้นบรรยากาศ   ณ ตอนนี้บริษัทสำเร็จการท...

Close Advertising