×

ดวงอาทิตย์

วันไร้เงา ดวงอาทิตย์ตั้งฉาก
27 เมษายน 2023

‘วันไร้เงา’ ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพฯ ครั้งแรกของปี 2566

วันนี้ (27 เมษายน) ทีมช่างภาพข่าว THE STANDARD ลงพื้นที่ย่านอโศก ถนนอโศกมนตรี ช่วงเวลาประมาณ 12.16 น. เพื่อเก็บภาพดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพมหานคร ครั้งแรกของปี 2566 ซึ่งปรากฏการณ์นี้จะทำให้วัตถุกลางแดดดูเสมือนไร้เงา เนื่องจากเงาจะตกอยู่ใต้วัตถุพอดี    ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ดวงอาทิตย์จะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตั้งฉากกับประเทศไทย เริ่มจ...
ดวงอาทิตย์เทียม
21 เมษายน 2023

‘ดวงอาทิตย์เทียม’ ของจีน ทำลายสถิติเดิมของตัวเอง โดยคงสภาพการเก็บกักพลาสมาได้นานเกือบ 7 นาที

เมื่อวันที่ 12 เมษายนที่ผ่านมา เตาปฏิกรณ์ฟิวชัน EAST ของจีน หรือที่รู้จักกันในสมญานาม ‘ดวงอาทิตย์เทียม’ สร้างสถิติใหม่ในการคงสภาพเก็บกักพลาสมาได้นานถึง 403 วินาที ขยับเข้าใกล้จุดหมายในเปิดการใช้งานจริงมากขึ้นเรื่อยๆ   ความสำเร็จครั้งนี้ถือเป็นก้าวกระโดดครั้งใหญ่จากสถิติเดิมที่ทำเอาไว้ 101 วินาทีเมื่อปี 2017 มาได้ค่อนข้างไกลเลยทีเดียว ท่า...
หลุมดำ
31 มีนาคม 2023

รู้จักหลุมดำขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยค้นพบ มีมวลพอๆ กับดวงอาทิตย์ถึง 32,000 ล้าน​ดวง

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเดอรัมในประเทศอังกฤษ นำโดย ดร.เจมส์ ไนติงเกล พบหลุมดำ ‘มวลมหาศาล’ ที่ถือได้ว่าใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบมา ผ่านเทคนิคการสังเกตการบิดโค้งของแสงที่เรียกว่า ‘เลนส์ความโน้มถ่วง’   หลุมดำขนาดมโหฬารนี้แฝงตัวอยู่ในใจกลางกาแล็กซี Abell 1201 ห่างจากโลกของเราออกไปประมาณ 2,700 ล้านปีแสง มีมวลในระดับที่น่าตกใจ นั่นคือเกินร...
12 มีนาคม 2023

ฝุ่นละอองที่บดบังช่วงปรากฏการณ์สวยงาม ‘ดวงอาทิตย์เสียบยอดภูเขาทอง’

วันนี้ (11 มีนาคม) ที่วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร (ภูเขาทอง) เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ช่างภาพข่าว THE STANDARD เดินทางไปรอบันทึกภาพปรากฏการณ์ธรรมชาติของดวงอาทิตย์ช่วงตกดินที่จะเคลื่อนมาอยู่ในตำแหน่งกึ่งกลางยอดภูเขาทอง (ดวงอาทิตย์เสียบยอดภูเขาทอง) ซึ่งมักเกิดขึ้นในช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี   แต่วันนี้ด้วยสภาพอากาศและสถานการณ์ฝุ่นละอองใ...
พระจันทร์
19 มกราคม 2022

มองพระจันทร์เต็มดวงในวันที่โคจรอยู่ไกลโลกมากที่สุดในรอบปี

คืนจันทร์เต็มดวงที่ดวงจันทร์โคจรอยู่ในระยะไกลโลกมากที่สุดในรอบปี หรือที่เรียกว่า ไมโครฟูลมูน (Micro Full Moon) โดยดวงจันทร์เต็มดวงมีขนาดปรากฏเล็กกว่าปกติเล็กน้อย สังเกตการณ์ได้ตลอดคืนวันที่ 18 มกราคม 2565 โดยดวงจันทร์โคจรอยู่ห่างจากโลกประมาณ 401,011 กิโลเมตร ซึ่งไกลที่สุดในรอบปี    สำหรับคืนนี้จะมองเห็นดวงจันทร์เต็มดวงมีขนาดปรากฏเล็...
ดวงอาทิตย์เทียม
12 มกราคม 2022

รู้จักปฏิกรณ์ฟิวชัน ‘ดวงอาทิตย์เทียม’ ของจีน ที่ทุบสถิติโลก สร้างความร้อนสูงกว่าแกนกลางดวงอาทิตย์เกือบ 5 เท่า และอยู่ได้นานเกิน 17 นาที

แสงอาทิตย์คือพลังงานสะอาดที่ไม่มีวันหมด ไม่มีใครปฏิเสธความจริงข้อนี้ แต่เรามักจะไม่ได้นึกถึงว่า จริงๆ แล้วแสงอาทิตย์ก็คือผลผลิตของพลังงานนิวเคลียร์รูปแบบหนึ่งที่เกิดจากปฏิกิริยาฟิวชันภายใต้อุณหภูมิ 15 ล้านองศาสเซลเซียส บวกกับแรงกดดันอันมหาศาลบริเวณใจกลางดวงอาทิตย์ ก่อให้เกิดสภาวะที่อะตอมของธาตุเบาอย่างไฮโดรเจนหลอมรวมกันจนเกิดเป็นอะตอมฮีเลียม ซึ่งเป...
ปีใหม่ 2565
1 มกราคม 2022

แสงแรกรับปีใหม่ 2565

เข้าสู่ศักราชใหม่ ปี 2565 หลายคนมักใช้โอกาสนี้ตั้งเป้าหมาย ปักหมุดเพื่อ ‘เปลี่ยนแปลง’ อะไรบางอย่างในชีวิต มีทั้งโจทย์ยาก โจทย์ง่าย หรือโจทย์ที่ตั้งไว้เพื่อทบทวนตัวเองในปีเก่า และปรับเปลี่ยนตัวเราในปีใหม่ที่มาถึง   ชีวิตที่ต้องแข่งกับเวลา แข่งกับความท้าทายต่างๆ ทำให้ชีวิตมนุษย์ในเมืองดูวุ่นวาย สับสน และมีโจทย์ที่แทรกเข้ามาให้ต้องขบคิดอยู่...
พระอาทิตย์เทียม
23 ธันวาคม 2021

ชมคลิป: จีนเดินหน้าทดสอบ ‘ดวงอาทิตย์เทียม’ รอบใหม่ ตั้งเป้าให้ร้อนกว่า และทนทานนานกว่าเดิม

สำนักข่าวซินหัวรายงานว่า ทีมนักวิจัยของสถาบันวิทยาศาสตร์กายภาพแห่ง Hefei หรือ Hefei Institutes of Physical Science เดินหน้าทำการทดสอบเตาปฏิกรณ์ Experimental Advanced Superconducting Tokamak (EAST) หรือ ดวงอาทิตย์เทียม รอบใหม่ เพื่ออัปเกรดระบบทำให้ดวงอาทิตย์เทียมสามารถให้ความร้อนได้มากขึ้น และทำงานได้ทนทานนานมากขึ้น ติดตามรายละเอียดได้ในไฮไลต์นี้ ...
ดวงอาทิตย์เทียม
23 ธันวาคม 2021

จีนเดินหน้าทดสอบ ‘ดวงอาทิตย์เทียม’ รอบใหม่ ตั้งเป้าให้ความร้อนและทนทานนานกว่าเดิม หวังใช้ผลิตพลังงานสะอาด

สำนักข่าวซินหัวของทางการจีนรายงานว่า ทีมนักวิจัยของสถาบันวิทยาศาสตร์กายภาพแห่งเหอเฟย หรือ Hefei Institutes of Physical Science ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน (Chinese Academy of Sciences: CAS) ได้เดินหน้าทดสอบเตาปฏิกรณ์ Experimental Advanced Superconducting Tokamak (EAST) หรือดวงอาทิตย์เทียม รอบใหม่    รายงา...
พาร์กเกอร์ โซลาร์ โพรบ
15 ธันวาคม 2021

รู้จัก ‘พาร์กเกอร์ โซลาร์ โพรบ’ ยานอวกาศลำแรกที่เดินทางเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์

ยานพาร์กเกอร์ โซลาร์ โพรบ (Parker Solar Probe: PSP) จากองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ หรือ NASA กลายเป็นยานอวกาศลำแรกของมวลมนุษยชาติที่ได้เดินทางเข้าสู่ ‘โคโรนา’ หรือบรรยากาศชั้นบนสุดของดวงอาทิตย์   ถือเป็นก้าวใหม่ในภารกิจของยานพาร์กเกอร์ โซลาร์ โพรบ และเป็นก้าวกระโดดครั้งสำคัญของวงการวิทยาศาสตร์สุริยะ ไม่ต่างจากครั้งแรกที่มนุ...

X
Close Advertising