×

กาแล็กซี

กาแล็กซี GS-NDG-9422
28 กันยายน 2024

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีประหลาดในยุคแรกเริ่มของจักรวาล จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

นักดาราศาสตร์ พบ กาแล็กซีประหลาด ในยุคแรกเริ่มของจักรวาล เมื่อแสงจากฝุ่นก๊าซห้อมล้อมดวงดาวกลับส่องสว่างกว่าแสงดาวฤกษ์ และอาจเป็นกาแล็กซีที่อยู่กึ่งกลางระหว่างการกำเนิดดาวฤกษ์รุ่นแรกก่อนวิวัฒนาการมาเป็นดาราจักรอย่างที่เรารู้จักในปัจจุบัน   กาแล็กซี GS-NDG-9422 อาจปรากฏเป็นจุดสว่างมัวๆ ในภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องเจมส์ เว็บบ์ แต่ข้อมูลจาก...
20 กันยายน 2024

NASA เผยภาพสองกาแล็กซีกำลังชนกัน พร้อมรายละเอียดคมชัดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์

NASA เผยภาพสองกาแล็กซีที่กำลังควบรวมกัน พร้อมรายละเอียดสุดคมชัดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   วัตถุดังกล่าวมีชื่อว่า ‘Arp 107’ อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 465 ล้านปีแสง ประกอบด้วยกาแล็กซีทรงรี PGC 32628 (ทางซ้ายของภาพ) และกาแล็กซีชนิดก้นหอย PGC 32620 (ขวา) ที่พุ่งชนกันเมื่อหลายร้อยล้านปีที่แล้ว และอยู่ในกระบวนการควบรวมกันอยู่ในปัจจุบัน ...
สสารมืด
19 มิถุนายน 2024

นักวิทยาศาสตร์อาจไขปริศนาที่มาของสสารมืดได้แล้ว

นักวิทยาศาสตร์เฝ้ามองและสังเกตกาแล็กซีทั้งหลายด้วยความฉงนสงสัยตลอดมา โดยเฉพาะกาแล็กซีที่มีรูปร่างแบบกังหัน ว่าเพราะเหตุใดดวงดาวที่อยู่ไกลจนสุดขอบแขนกังหัน กับดวงดาวที่อยู่ใกล้ใจกลางกาแล็กซี ถึงได้มีความเร็วในการโคจรไปรอบกาแล็กซีแทบไม่แตกต่างกันเลย   เพราะหากเรามองการหมุนรอบตัวเองของกาแล็กซีตามกฎของเคปเลอร์ข้อที่ 3 หรือกฎฮาร์มอนิก (p2/a³=...
James Webb Space Telescope
1 มิถุนายน 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบกาแล็กซีแห่งใหม่ที่อยู่ไกลจากโลกที่สุด

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีไกลโลกที่สุดเท่าที่เคยค้นพบมา จากภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   กาแล็กซีดังกล่าวมีชื่อว่า JADES-GS-z14-0 มีค่าการเลื่อนไปทางแดง หรือค่า Redshift (z) ประมาณ 14.32 เท่ากับแสงที่เราเห็นจากดาราจักรแห่งนี้ ใช้เวลานานกว่า 13,500 ล้านปีเพื่อเดินทางมาถึงโลก ทำลายสถิติเดิมของกาแล็กซี JADES-GS-z13-0 ...
1 กุมภาพันธ์ 2024

นักวิจัยไทยพบ 13 กาแล็กซีในยุคแรกเริ่มของเอกภพ จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

ดร.ณิชา ลีโทชวลิต นักวิจัยของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้นำทีมคณะนักดาราศาสตร์นานาประเทศตรวจพบกาแล็กซีมวลน้อยเพิ่มอีก 13 แห่งที่มีอยู่ตั้งแต่เอกภพ มีอายุเพียง 550-700 ล้านปี   งานวิจัยดังกล่าวได้ศึกษาข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ภายใต้โครงการวิจัย GLASS-JWST-ERS เพื่อตรวจหากาแล็กซียุคแรกเริ่มของเอกภพ ที่กำเนิด...
30 มกราคม 2024

NASA เผยภาพ 19 กาแล็กซีกังหันสุดคมชัด จากข้อมูลล่าสุดกล้องเจมส์ เว็บบ์

NASA เผยภาพชุดใหม่ของกาแล็กซีกังหัน 19 แห่ง ที่หันด้านหน้าเข้าหาโลก (Face-on Spiral Galaxy) จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   นักดาราศาสตร์ศึกษากาแล็กซีประเภทนี้ด้วยข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์ต่างๆ เช่น กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล, กล้อง VLT (Very Large Telescope) และกล้อง ALMA (Atacama Large Millimeter/submillimeter Array) ...
กาแล็กซีมืด
16 มกราคม 2024

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีมืดสนิท ไม่มีดาวฤกษ์ปรากฏอยู่ จากความผิดพลาดในการสำรวจ

นักดาราศาสตร์ได้ตรวจพบกาแล็กซีประหลาดที่ไม่มีแสงดาวฤกษ์ปรากฏอยู่ แต่อุดมไปด้วยก๊าซไฮโดรเจนปริมาณมาก จากการที่กล้องโทรทรรศน์วิทยุซึ่งมีเป้าหมายสำรวจวัตถุอื่นบนท้องฟ้าหันไปผิดตำแหน่งโดยไม่ได้ตั้งใจ   กาแล็กซี J0613+52 อยู่ห่างจากโลกไปราว 270 ล้านปีแสง ในทิศของกลุ่มดาวสารถี ซึ่งข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุ Green Bank พบว่ามีก๊าซไฮโดรเจนมวลม...
นักดาราศาสตร์
2 กันยายน 2023

นักดาราศาสตร์ไทยร่วมใช้กล้องเจมส์ เว็บบ์ ศึกษาคุณสมบัติกาแล็กซียุคแรกของเอกภพ

คณะนักวิจัยจากนานาประเทศ รวมถึงประเทศไทย ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ศึกษากาแล็กซี MACS1149-JD1 หรือ JD1 พบว่ามีมวลค่อนข้างน้อย และอยู่ห่างจากโลกไปราว 13,300 ล้านปีแสง หรือเทียบเท่ากับ 4% ของอายุเอกภพในปัจจุบัน   การศึกษาหากาแล็กซียุคแรกของเอกภพเป็นหนึ่งในเป้าหมายสำคัญของกล้องเจมส์ เว็บบ์ ที่สำรวจจักรวาลในช่วงรังสีอินฟราเรด โดย...
กล้องเจมส์ เว็บบ์
19 สิงหาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ ยืนยันการพบหนึ่งในกาแล็กซียุคแรกสุดของเอกภพ

นักดาราศาสตร์พบว่าดาราจักร CEERS2 5429 หรือกาแล็กซี Maisie ที่ถูกจับภาพได้โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ เมื่อปีที่แล้ว เป็นหนึ่งในกาแล็กซีแห่งแรกสุดของเอกภพ   ข้อมูลล่าสุดจากการศึกษาข้อมูลสเปกตรัมเพิ่มเติม โดยคณะนักดาราศาสตร์จากนานาประเทศ พบว่าดาราจักรดังกล่าวอยู่ในช่วงประมาณ 13,400 ล้านปีที่แล้ว หรือราว 390 ล้านปีหลังการเกิดบิ๊กแบง...


Close Advertising
X
Close Advertising