×

ซึมเศร้า

HEALTH HACKER EP7
27 ตุลาคม 2021

อายุมากขึ้น แต่ไม่เคยออกกำลังกายเลย แล้วระบบร่างกายจะเป็นอย่างไร

จำได้ไหมว่าครั้งสุดท้ายที่ได้ออกกำลังกายคือเมื่อไร? หรือถ้าคุณเป็นคนที่ชีวิตนี้ไม่เคยออกกำลังกายเลย ลองคิดดูว่าเมื่อตัวเลขอายุเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากวัย 20 ไปสู่ 30 และ 40 ปี แล้วจะเกิดอะไรขึ้นกับร่างกายบ้าง   หลังจากที่คนเราเกิดมานั้น ร่างกายจะมีการเจริญเติบโตตามช่วงวัยต่างๆ ตั้งแต่ทารก วัยเด็ก วัยรุ่น จนกระทั่งเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ โดยเฉพา...
HealthHacker-EP6
24 ตุลาคม 2021

ข้ามพ้นภาวะซึมเศร้าด้วย Aerobic Exercise

ภาวะซึมเศร้าไม่ได้เป็นเรื่องไกลตัวอีกต่อไป ด้วยสภาพสังคมในปัจจุบันที่มีแรงปะทะเข้ามารอบด้าน จึงไม่ใช่ทุกคนที่จะรับมือกับทุกเรื่องได้ทุกเวลา   แต่ก็ไม่ใช่เรื่องผิดที่เราจะมีความรู้สึกแบบนั้นเกิดขึ้นได้ สิ่งสำคัญคือหนทางและวิธีการที่จะทำให้เราผ่านจุดนั้นไปได้ต่างหาก ซึ่งนอกเหนือจากการกินยารักษาแล้ว การออกกำลังกายแบบ Aerobic Exercise ก็เป็น...
16 มีนาคม 2021

ป่วยง่าย เพราะร่างกายขาดวิตามินดี? วิกฤตสุขภาพที่ไม่ควรมองข้าม

ภาวะขาดวิตามินดีไม่ได้เกิดแค่ต่างประเทศ เพราะคนไทยโดยเฉพาะคนเมืองมีโอกาสขาดวิตามินดีมากกว่าที่คิด ทั้งที่วิตามินดีช่วยลดความเสี่ยงของโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจและช่วยให้หลั่งสารคลายเครียดได้ด้วย   Audio Article ชวนฟังบทความยอดนิยมที่ว่าด้วยเรื่องประโยชน์ของวิตามินดี กระบวนการที่ร่างกายนำวิตามินดีไปใช้ รวมถึงถ้าร่างกายขาดวิตามินดีแล้วจ...
ruok
23 เมษายน 2019

เมื่อความสำเร็จไม่ใช่ทุกอย่าง แต่การปล่อยให้รู้จักพลาดต่างหากคือการทำให้ลูกเติบโต

เมื่อพูดถึงปัญหาความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ปัญหาใหญ่อย่างหนึ่งคือลูกรู้สึกว่าถูกพ่อแม่บังคับ ซึ่งนำพาให้เกิดความรู้สึกไร้ค่า เครียด กดดัน และปัญหาอื่นๆ ที่คาดไม่ถึง   R U OK เอพิโสดนี้จึงอยากทำความเข้าใจว่าการวางแนวทางให้ลูกปฏิบัติตามอย่างเข้มงวดอาจไม่ใช่คำตอบของความสำเร็จเสมอไป และเราจะสื่อสารกันภายในครอบครัวอย่างไรเพื่อให้มองเห็นถึงความ...
17 สิงหาคม 2018

สำรวจความเหงาที่ลึกถึงความเดียวดาย เหมือนหรือต่างอย่างไรกับความแปลกแยก

หลายคนคงเคยเจอเย็นวันศุกร์ที่ไม่รู้จะทำอะไร เพื่อนไม่ว่าง เลยกลับมาอยู่เงียบๆ ที่ห้อง ความเหงาเล็กๆ ที่เกาะกุมใจก็ขยายใหญ่ขึ้นอย่างไม่รู้ตัว   R U OK เอพิโสดนี้ ปอนด์ ยาคอปเซ่น และ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ นักจิตบำบัดด้วยการเคลื่อนไหว เลยมาชวนกันคุยเรื่องความเหงาที่บางครั้งมันลึกไปถึงความอ้างว้างว่าเป็นความผิดปกติหรือไม่ และความแปลกแยกที่หลายคน...
5 มิถุนายน 2018

5 ขั้นตอนทางจิตวิทยาของการอกหัก และถ้าเศร้าหนักเกินเยียวยาไปหาจิตแพทย์ได้ไหม

สำหรับคนที่อกหักอาจกำลังรู้สึกว่า เวลาของความเจ็บปวดนี้มันช่างผ่านไปอย่างเชื่องช้า และยาวนานเกินกว่าจะรับไหว   R U OK เอพิโสดนี้ ปอนด์ ยาคอปเซ่น และ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ นักจิตบำบัดด้วยการเคลื่อนไหว เลยชวนกันมาทำความเข้าใจอาการอกหักด้วยมุมมองทางจิตวิทยา ว่ากว่าจะผ่านเศร้าที่ยาวนาน เราจะต้องผ่านขั้นตอนทางความรู้สึกอะไร ทำอย่างไรถึงจะดีขึ้น แล...
15 พฤษภาคม 2018

ทำไมเราจึงเลือกโกหกมากกว่าเผชิญหน้า แล้วนิสัยโกหกจนเป็นเรื่องธรรมดาถือว่าป่วยไหม

‘โกหก’ เป็นพฤติกรรมหนึ่งของมนุษย์ที่ประหลาด เราไม่ชอบให้คนอื่นโกหก แต่บางครั้งเราก็ไม่สามารถห้ามตัวเองไม่ให้โกหกคนอื่นได้   R U OK เอพิโสดนี้ ปอนด์ ยาคอปเซ่น และ ดุจดาว วัฒนปกรณ์ นักจิตบำบัดด้วยการเคลื่อนไหว จึงมาหาสาเหตุว่าทำไมคนเราต้องโกหกแทนที่จะเผชิญหน้ากับความจริง โกหกจนเป็นนิสัยถือว่าเป็นโรคไหม พวกสิบแปดมงกุฎเขาตั้งใจโกหกหรือเขาเช...
24 เมษายน 2018

เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ายเหมือนตัวอิจฉาแบบนี้เป็น ไบโพลาร์ หรือเปล่า

ไม่นานมานี้มีศัพท์ทางจิตวิทยาที่ใช้กันอย่างแพร่หลายคือคำว่า ไบโพลาร์ โดยเฉพาะเวลาที่ดูละครแล้วเห็นตัวอิจฉาที่แสดงอาการเดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย โกรธเป็นฟืนเป็นไฟกับคนหนึ่ง แล้วฉับพลันทันทีก็อารมณ์ดีใส่ใครอีกคน และเหมาเอาว่าคนที่มีอาการแบบนี้เป็นโรคไบโพลาร์ แถมบางคนก็เอาคำว่าไบโพลาร์ไปแซวเพื่อนที่มีอารมณ์ไม่อยู่กับร่องกับรอยว่าเป็นโรคนี้   ทั้ง...
23 พฤศจิกายน 2017

เทยนักสิทธิมนุษยชน: ต่อสู้เพื่อความเหลื่อมล้ำให้ทุกคนเป็นคนอย่างเท่าเทียม

  หากมองด้วยตาเปล่า ตรงหน้าเราคือผู้หญิงคนหนึ่ง จนเมื่อเธอเริ่มเล่าเรื่องของตัวเองให้เราฟัง   นาดา ไชยจิตต์ คือผู้หญิงข้ามเพศ ซึ่งปัจจุบันทำหน้าที่เป็นนักกฎหมาย ที่ปรึกษาองค์กรสิทธิมนุษยชน ที่สนใจเรื่องความเหลื่อมล้ำของชนชั้นแรงงาน Sex Worker กลุ่มชาติพันธุ์ และความหลากหลายทางเพศ ที่กว่าจะเป็นนักสิทธิมนุษยชนอย่างในปัจจุบัน เธอได้...


Close Advertising
X