×

ณัฐพงศ์ ดวงแก้ว

ผีลิฟต์แดง
6 ตุลาคม 2021

‘ผีลิฟต์แดง’ การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและการธำรงเรื่องเล่าเหตุการณ์ความรุนแรง 6 ตุลา 2519

เรื่องเล่าตำนานลิฟต์แดงและเหตุการณ์ 6 ตุลา   หากกล่าวถึงตำนานลิฟต์แดงธรรมศาสตร์ หลายต่อหลายคนคงเคยได้ยินได้ฟังเรื่องราวเล่าขานมาบ้างไม่มากก็น้อย   แต่สำหรับเด็กจากรั้วแม่โดมหรือเด็กธรรมศาสตร์แล้วนั้น อาจจะกล่าวได้ว่าแทบทุกคนคงไม่มีใครไม่เคยได้ยินเรื่องเล่าเกี่ยวกับตำนานลิฟต์แดงหรือเรื่องผีลิฟต์แดง   โดยเฉพาะเด็กคณะศิล...
พระไม่ควรยุ่งการเมือง
26 พฤษภาคม 2021

ถอดรื้อวาทกรรม ‘พระไม่ควรยุ่งการเมือง’ เมื่อรัฐอยู่กลางวงศาสนา

มีเหตุการณ์การเมืองเกิดขึ้นมากมายในวงการสงฆ์ช่วงที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเรื่องการฟ้องร้องพระสงฆ์ที่ออกมาแสดงออกทางการเมือง ไม่ว่าจะการพยายามไล่จับพระที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองสึก แม้แต่มีพระสงฆ์หลายรูปออกมาแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้องกับการเมืองจนเป็นกลายเรื่องดราม่าในโลกออนไลน์กันไม่เว้นแต่ละวัน    จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น หลายต่อหลายคนคง...
บวชในพระพุทธศาสนากับเสรีภาพทางเพศ
25 สิงหาคม 2020

บวชในพระพุทธศาสนากับเสรีภาพทางเพศ แต่ไม่ใช่เสรีภาพทางศาสนา (1)

​เมื่อกล่าวถึงพระตุ๊ด-เณรแต๋ว ปัญหาที่ถกเถียงกันในสังคมไทยไม่ใช่แค่เรื่องที่จะบอกว่าคนเป็นตุ๊ด-แต๋ว บวชได้หรือไม่ได้ แต่ปัญหาหลักอยู่ที่ว่าคนในสังคมส่วนใหญ่มักมองเขาไปในแง่ลบเป็นหลักตั้งแต่เริ่มต้น เช่น เป็นพวกบัณเฑาะก์ ลักเพศ วิปริตผิดเพศ มักมากในกามราคะ นิยมความรุนแรง ผิดพระวินัย เป็นกลุ่มที่จะสร้างความเสื่อมเสียให้กับวงการพระสงฆ์ หรือมากกว่านั้น...
24 มิถุนายน 2020

พลิกประวัติศาสตร์ ‘อมตะวาจาครูบาศรีวิชัย’ กับการอภิวัฒน์สยาม พ.ศ. 2475

ว่าด้วยอมตะวาจาของครูบาศรีวิชัย หากกล่าวถึงอมตะวาจา ‘ครูบาศรีวิชัย’ หลายคนมักเคยได้ยินเรื่องเล่าที่เล่าต่อกันมาว่า ครูบาศรีวิชัยได้กล่าวอมตะวาจาไว้ด้วยความเจ็บช้ำน้ำใจเมื่อครั้งที่ท่านถูกอธิกรณ์เมื่อ พ.ศ. 2478 ว่า “หากน้ำปิงไม่ไหลย้อนขึ้นเหนือ จะไม่ขอไปเหยียบแผ่นดินเชียงใหม่”   ผู้เขียนซึ่งเคยได้ยินเรื่องเล่าเกี่ยวกับอมตะวาจานี้มาเช่น...
25 พฤษภาคม 2020

โลกาภิวัตน์ และประวัติศาสตร์การระบาดของเชื้อโรคข้ามดินแดน

เมื่อพูดถึงโลกยุคโลกาภิวัตน์ในความรู้สึกและการรับรู้ของคนส่วนใหญ่ เรามักมีความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ไปในทิศทางที่ดี ไม่ว่าจะมองว่าโลกาภิวัตน์ทำให้โลกที่กว้างใหญ่นี้แคบลง ทำให้โลกเชื่อมเข้าหากัน ทำให้มนุษย์เข้าใกล้กัน มีปฏิสัมพันธ์กัน ไปมาหาสู่กันมากขึ้นผ่านการคมนาคมและการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หรือยิ่งกว่านั้นก็มองว่าโลกาภิ...
6 มีนาคม 2020

‘ห่ากินเมือง’ จากยุคอหิวาต์สู่ยุคโควิด-19 กับความเชื่อที่ไม่เคยขาดหาย สะท้อนความไม่มั่นคงของรัฐ

สังคมไทยเป็นสังคมที่อุดมไปด้วยความเชื่อ ไม่ว่าจะในอดีตหรือแม้กระทั่งปัจจุบัน เรามักจะเห็นอยู่บ่อยครั้ง เมื่อใดที่สังคมเกิดเหตุการณ์หรือเกิดวิกฤตการณ์สำคัญๆ ที่ส่งผลต่อความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินของคนในสังคม เราก็จะเห็นเรื่องราวเกี่ยวกับความเชื่อปรากฏขึ้นควบคู่กับเหตุการณ์เหล่านั้น    ไม่ว่าจะเมื่อครั้งวิกฤตการณ์ถ้ำหลวงเมื่อหลายปีก...
พระตุ๊ด เณรแต๋ว
27 พฤศจิกายน 2019

พระตุ๊ด เณรแต๋ว ผิดไหม-ผิดตรงไหน ใครเป็นผู้กำหนด

น่าสนใจอย่างยิ่ง เมื่อ ธัญ-ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ สมาชิกผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคอนาคตใหม่ ผู้ประกาศตนว่าเป็น ส.ส. LGBT ได้ออกมาตั้งคำถามต่อสังคมว่า “พระตุ๊ดผิดตรงไหน”    คำถามดังกล่าวเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างยิ่ง และมีความคิดเห็นแตกต่างกันหลากหลายมุมมอง    จริงๆ แล้วคำถามนี้ถือว่าเป็นคำถามที่น่าสนใจมากคำถาม...
ชุมชนกะเหรี่ยง
22 สิงหาคม 2019

คนเหนือเขื่อน กับชีวิตที่ถูกลืม

เมื่อประมาณช่วงกลางเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ผู้เขียนซึ่งเป็นหนึ่งในทีมผู้ช่วยวิจัยพลวัตชุมชนกะเหรี่ยง โดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ซึ่งมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิเชฐ สายพันธ์ เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย ได้ไปลงพื้นที่ทำวิจัยที่ตำบลบ้านนา อำเภอสามเงา จังหวัดตาก ซึ่งเป็นหนึ่งในพื้นที่รับผิดชอบของโครงการ   การเดินทางไปในพื้นที่มีความลำบากพอสมควร เนื...
แต่งตัวเข้าสภาฯ
10 กรกฎาคม 2019

แต่งชุดไหนเข้าสภาฯ ทำไมต้องกลายเป็นประเด็น ย้อนประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายถูกระเบียบและที่ถูกทำให้เป็นอื่นในสังคมไทย

สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม ไม่ว่าจะกลุ่มคนไทย จีน มลายู ลาว โยน ญวน ไต รวมไปถึงกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ทั้งกะเหรี่ยง อาข่า มูเซอ ม้ง อิวเมี่ยน ปะหล่อง และอีกมากมาย    อัตลักษณ์ที่สำคัญอย่างยิ่งที่สะท้อนถึงความหลากหลายของชาติพันธุ์และวัฒนธรรมในสังคมไทยมีหลายอย่าง ไม่ว่าเรื่องภาษา วัฒนธรรม การกิน การอยู่ แ...
พานไหว้ครู
17 มิถุนายน 2019

‘พานไหว้ครู’ จากเครื่องบูชา สู่สัญลักษณ์ทางการเมืองและความกล้าหาญทางความคิด

‘ครู’ มีความหมายว่า ผู้สั่งสอนศิษย์ หรือผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ ซึ่งมาจากคำว่า ‘ครุ’ (อ่านว่า คะ-รุ) ที่แปลว่า ‘หนัก’ อันหมายถึงความรับผิดชอบในการอบรมสั่งสอนของครูนั้นนับเป็นภาระหน้าที่ที่หนักหนาสาหัสไม่น้อย   นอกจากครูที่เป็นฆราวาสแล้ว เราก็จะพบการใช้คำว่า ‘ครู’ สำหรับพระสงฆ์ด้วย อย่างในภาคเหนือเรามักจะได้ยินคำเรียกพระสงฆ์ที่เป็นท...

MOST POPULAR


Close Advertising
X