×

Science

8 กุมภาพันธ์ 2024

โอเล็ก โคโนเนนโก นักบินอวกาศรัสเซีย ทำลายสถิติเวลาที่อาศัยอยู่บนอวกาศยาวนานที่สุด

เมื่อเช้าวันที่ 4 กุมภาพันธ์ โอเล็ก โคโนเนนโก นักบินอวกาศชาวรัสเซีย กลายเป็นเจ้าของสถิติผู้อยู่อาศัยบนอวกาศนานที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยระยะเวลามากกว่า 880 วันในวงโคจร จากการขึ้นบินทั้งสิ้น 5 ครั้ง   โคโนเนนโกในวัย 59 ปี กำลังปฏิบัติงานบนสถานีอวกาศนานาชาติ ในภารกิจ Expedition 69-71 ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2023 โดยเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจร...
ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ
6 กุมภาพันธ์ 2024

กล้องฮับเบิลตรวจพบไอน้ำในบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบขนาดเล็กที่สุด

นักดาราศาสตร์ตรวจพบไอน้ำในบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ GJ 9827 d ที่อยู่ห่างโลกไป 97 ปีแสง จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล   น้ำเป็นหนึ่งในโมเลกุลที่พบได้ทั่วไปในเอกภพ และถือเป็นสิ่งจำเป็นของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก ทำให้การค้นหาชีวิตในแห่งหนอื่นของเอกภพ มักดำเนินควบคู่ไปกับการตรวจหาร่องรอยของน้ำบนดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดา...
4 กุมภาพันธ์ 2024

NASA เตรียมส่งยาน PACE ศึกษามหาสมุทรและบรรยากาศของโลกจากอวกาศ

NASA เตรียมส่งภารกิจ PACE เดินทางขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ เพื่อศึกษาและสำรวจมหาสมุทรและบรรยากาศโลกจากวงโคจร   นอกจากภารกิจสำรวจดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ต่างๆ รวมถึงเป้าหมายที่อยู่ไกลออกไปในระบบดาวดวงอื่นแล้ว NASA ยังมีฝูงยานอวกาศสำหรับภารกิจศึกษาโลก ดาวเคราะห์เพียงหนึ่งเดียวที่ชีวิตดำรงอยู่ได้ และบ้านหลังเดียวของมนุษยชาติ เช่นเดียวกั...
1 กุมภาพันธ์ 2024

GISTDA สาธิตการนำเทคโนโลยีดาวเทียมมาวิเคราะห์ข้อมูลนักบอลในแมตช์เชียงรายพบแทกู

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA ทดสอบนำเทคโนโลยี ‘Digitalyst’ ที่ติดตามตำแหน่งของนักเตะในสนามผ่านระบบ GNSS มาวิเคราะห์ประสิทธิภาพของนักฟุตบอลอาชีพ ในเกมอุ่นเครื่องระหว่างเชียงราย ยูไนเต็ด พบกับ แทกู เอฟซี จากประเทศเกาหลีใต้   อุปกรณ์ดังกล่าวได้ถูกติดตั้งไว้ภายในเสื้อของนักฟุตบอล โดยอาศัยการจับสัญญาณจ...
1 กุมภาพันธ์ 2024

นักวิจัยไทยพบ 13 กาแล็กซีในยุคแรกเริ่มของเอกภพ จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

ดร.ณิชา ลีโทชวลิต นักวิจัยของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้นำทีมคณะนักดาราศาสตร์นานาประเทศตรวจพบกาแล็กซีมวลน้อยเพิ่มอีก 13 แห่งที่มีอยู่ตั้งแต่เอกภพ มีอายุเพียง 550-700 ล้านปี   งานวิจัยดังกล่าวได้ศึกษาข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ภายใต้โครงการวิจัย GLASS-JWST-ERS เพื่อตรวจหากาแล็กซียุคแรกเริ่มของเอกภพ ที่กำเนิด...
30 มกราคม 2024

NASA เผยภาพ 19 กาแล็กซีกังหันสุดคมชัด จากข้อมูลล่าสุดกล้องเจมส์ เว็บบ์

NASA เผยภาพชุดใหม่ของกาแล็กซีกังหัน 19 แห่ง ที่หันด้านหน้าเข้าหาโลก (Face-on Spiral Galaxy) จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   นักดาราศาสตร์ศึกษากาแล็กซีประเภทนี้ด้วยข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์ต่างๆ เช่น กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล, กล้อง VLT (Very Large Telescope) และกล้อง ALMA (Atacama Large Millimeter/submillimeter Array) ...
การโคลนนิ่ง
28 มกราคม 2024

หรือการโคลนนิ่งมนุษย์คือก้าวต่อไป? หลังความสำเร็จ​ในการโคลนนิ่งลิง

‘เรโทร’ (Retro)​ คือชื่อของลิงวอก (Macaca mulatta) เพศผู้ ซึ่งเป็น​สัตว์ในกลุ่มวานรหรือไพรเมตสายพันธุ์ล่าสุดที่ประสบความสำเร็จ​จากการโคลนนิ่ง โดยเจ้าจ๋อเรโทร​นี้ถือกำเนิดขึ้นในจีนเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม​ 2020 จวบจนบัดนี้​ผ่านไป 3 ปีแล้วยังคงมีสุขภาพดี   การโคลนนิ่งเจ้าจ๋อเรโทรเดินตามรอยไพรเมตรุ่นพี่ต่างสายพันธุ์​ 2 ตัว นั่นคือ ‘จงจง’ (中中)...
NASA
27 มกราคม 2024

NASA ยุติภารกิจเฮลิคอปเตอร์ Ingenuity บนดาวอังคาร

NASA แถลงยุติการขึ้นบินของ Ingenuity เฮลิคอปเตอร์ขนาดเล็กบนดาวอังคาร เนื่องจากพบความเสียหายที่เกิดขึ้นกับใบพัดหลังการขึ้นบินครั้งที่ 72 เมื่อวันที่ 18 มกราคมที่ผ่านมา   เฮลิคอปเตอร์ Ingenuity เดินทางไปถึงดาวอังคารกับโรเวอร์สำรวจ Perseverance เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2021 ด้วยวัตถุประสงค์การสาธิตเทคโนโลยีเท่านั้น โดยมีแผนให้ขึ้นบินรวมทั้งสิ้น...
25 มกราคม 2024

JAXA เผยภาพยาน SLIM พบว่าลงจอดบนดวงจันทร์แบบหัวปักพื้น

องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น หรือ JAXA เผยภาพแรกของยาน SLIM บนพื้นผิวดวงจันทร์ พบว่ายานลงจอดในท่าหัวปักพื้น ผิดจากภารกิจที่ถูกวางไว้   ยาน SLIM หรือ Smart Lander for Investigating Moon เดินทางไปลงจอดบนดวงจันทร์ได้สำเร็จเมื่อคืนวันที่ 19 มกราคม กลายเป็นชาติที่ 5 ที่สามารถนำยานทำ Soft Landing หรือลงจอดอย่างนุ่มนวลบนพื้นผิวได้ อย่างไรก็ตาม ข้อม...
20 มกราคม 2024

NARIT จับภาพสุดท้ายของยาน Peregrine ก่อนสิ้นสุดภารกิจด้วยการตกกลับสู่โลก

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT เผยภาพสุดท้ายของยาน Peregrine ที่ล้มเหลวในการเดินทางไปลงจอดบนดวงจันทร์ และกลับมาเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศโลก เมื่อเช้ามืดวันที่ 19 มกราคม ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่ภารกิจ SLIM ของญี่ปุ่นลงจอดบนดวงจันทร์ได้สำเร็จ แต่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่ค่อนข้างจำกัด จากปัญหาการสร้างพลังงานผ่านแผงโซลาร์เซลล์   ยาน P...

MOST POPULAR


Close Advertising
X