×

Science

ยานยูคลิด
3 กรกฎาคม 2023

SpaceX ส่งยานยูคลิดของ ESA ไขความลับพลังงานและสสารมืดในจักรวาล

บนท้องฟ้าที่ดูมืดมิดและช่างว่างเปล่า แท้จริงแล้วกลับเต็มไปด้วยพลังงานบางอย่างที่เราไม่อาจมองเห็น และนักดาราศาสตร์ยังไม่สามารถอธิบายพฤติกรรมของสิ่งเหล่านี้ได้...   เมื่อเวลา 22:12 น. ของวันที่ 1 กรกฎาคม จรวด Falcon 9 ของบริษัท SpaceX ได้ทะยานขึ้นจากฐานปล่อย SLC-40 ของแหลมคานาเวอรัล พร้อมกับยาน ‘ยูคลิด’ (Euclid) ขององค์การอวกาศยุโรป หรือ E...
เวชศาสตร์ชะลอวัย
3 กรกฎาคม 2023

ชมคลิป: มนุษย์อาจเป็นอมตะ เมื่อนักวิทยาศาสตร์ค้นพบวิธีเอาชนะความแก่ได้แล้ว | KEY MESSAGES #87

เชื่อกันว่า เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่หากเราย้อนดูหน้าประวัติศาสตร์จะพบว่า มนุษย์แสวงหาความเป็นอมตะมาโดยตลอด   ในปัจจุบันมหาเศรษฐีหลายคนในซิลิคอนแวลลีย์กำลังทุ่มเงินมหาศาลให้กับการค้นหาความเป็นอมตะ หรือที่ทางวิชาการเรียกกันว่า ‘เวชศาสตร์ชะลอวัย’ (Anti-Aging) และจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเ...
1 กรกฎาคม 2023

สวัสดีวันเสาร์! กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวเสาร์และดวงจันทร์บริวารในย่านอินฟราเรด

คืนวันที่ 30 มิถุนายน NASA และ ESA ได้เปิดเผยภาพถ่ายของดาวเสาร์ในย่านอินฟราเรดใกล้จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ที่แสดงให้เห็นรายละเอียดของชั้นบรรยากาศดาว วงแหวน และดวงจันทร์บริวารบางดวง   ภาพดังกล่าวถูกถ่ายเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ด้วยอุปกรณ์ NIRCam ที่ถ่ายภาพในย่านอินฟราเรดใกล้ ช่วงคลื่น 3.23 ไมครอน โดยภาพนี้จะเห็นวงแหวนมีความสว่าง...
ความโน้มถ่วงความถี่ต่ำ
30 มิถุนายน 2023

ครั้งแรก! นักดาราศาสตร์พบเสียงฮัมในเบื้องหลังของจักรวาล จากการศึกษาคลื่นความโน้มถ่วงความถี่ต่ำ

จักรวาลของเราเต็มไปด้วยเสียงฮัมก้องกังวานทั่วทุกทิศ หากเทียบทั้งจักรวาลเป็นดั่งวงดนตรีซิมโฟนี เราจะได้ยินเสียงประสานทุ้มดังก้องทั่วทั้งฮอลล์การแสดง ซึ่งนี่คือสิ่งที่นักดาราศาสตร์จากนานาประเทศได้ค้นพบ แต่เปลี่ยนจากคลื่นเสียงที่หูเราได้ยินผ่านตัวกลางอากาศ เป็นคลื่นความโน้มถ่วงที่ยืดหดกาลอวกาศแทน   อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้ทำนายการมีอยู่ของคล...
การงีบหลับ
23 มิถุนายน 2023

วิจัยเผย การงีบหลับสั้นๆ ช่วงกลางวัน ช่วยป้องกันการหดตัวของสมองได้

งานวิจัยล่าสุดเปิดเผยว่า การงีบหลับสั้นๆ ในช่วงเวลากลางวัน อาจเป็นผลดีต่อสุขภาพสมองของมนุษย์ เนื่องจากมันช่วยป้องกันการหดตัวของสมองได้เมื่อคนเรามีอายุมากขึ้นเรื่อยๆ   หนังสือพิมพ์ The Guardian รายงานว่า แม้ก่อนหน้านี้จะมีงานวิจัยที่เปิดเผยว่า การงีบหลับนานๆ อาจเป็นอาการเริ่มต้นของโรคอัลไซเมอร์ แต่ในขณะเดียวกันงานวิจัยอื่นๆ ได้ออกมารายงาน...
Enceladus
16 มิถุนายน 2023

พบโมเลกุล​ ‘ฟอสเฟต’ กุญแจ​สำคัญ​สู่การก่อกำเนิด​ชีวิต ผสมอยู่​ในน้ำที่พ่นออกมาจากดวงจันทร์ของดาวเสาร์​

แฟรงก์ โพสต์เบิร์ก ศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ จาก Freie Universität แห่งเบอร์ลิน และทีมงาน พบหลักฐานแสดงถึงการมีอยู่จริงของ ‘ฟอสเฟต’ หนึ่งในสารประกอบสำคัญของสิ่งมีชีวิต จากน้ำที่พวยพุ่งออกมาทางขั้วใต้ของ ‘เอนเซลาดัส’ ดวงจันทร์น้ำแข็งที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของดาวเสาร์ การค้นพบนี้ถือเป็นครั้งแรกในวงการอวกาศที่ยืนยันว่า มีฟอสฟอรัสอยู่ในมห...
Shenzhou-16
30 พฤษภาคม 2023

องค์การอวกาศจีนส่งนักบินอวกาศ 3 คนขึ้นไปประจำการบนสถานีอวกาศ ในภารกิจเสินโจว-16

เมื่อเวลา 08.33 น. ของวันนี้ (30 พฤษภาคม) ตามเวลาประเทศไทย จรวดลองมาร์ช 2 เอฟ ทะยานออกจากฐานปล่อยในศูนย์ส่งดาวเทียมจิ่วเฉวียน (酒泉卫星发射中心) มณฑลกานซู่ ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน นำส่งยานอวกาศในภารกิจเสินโจว-16 (神舟十六号) พร้อมนักบินอวกาศ 3 คนขึ้นสู่วงโคจร   นักบินอวกาศทั้ง 3 คน ประกอบด้วย จิ่งไห่ผิง รับหน้าที่เป็นผู้บัญชาการภารกิจ ซึ่งออกเด...
ดาวเสาร์
27 พฤษภาคม 2023

รู้หรือไม่ ในวันหนึ่ง…ดาวเสาร์อาจไร้วงแหวน

ถ้าพูดถึงดาวเคราะห์ที่โดดเด่นที่สุดในระบบสุริยะ แน่นอนว่าไม่มีใครเกินดาวเสาร์ แม้ดาวเคราะห์ดวงอื่นอาจแข่งกันที่ได้สีสันและขนาด แต่ดาวเสาร์ย่อมยืนหนึ่งด้วยระบบวงแหวนขนาดใหญ่ที่สวยงามไม่เหมือนใคร   ดาวเสาร์มีวงแหวนไม่ต่ำกว่า 8 วง เล็กบ้างใหญ่บ้างซ้อนกันเป็นชั้นๆ โดยจะมี 3 วงที่เห็นชัดเจนจากระยะไกลและมีพื้นที่กว้างใหญ่กว่าวงอื่น นอกนั้นก็จะ...
อะมีบา
25 พฤษภาคม 2023

สหรัฐฯ เตือนรัฐทางเหนือระวังเจออะมีบากินสมอง หลังโลกรวนทำอุณหภูมิสูงขึ้นจนอะมีบาโตผิดถิ่น

สมาคมสาธารณสุขแห่งรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา เผยแพร่รายงานฉบับใหม่ซึ่งตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ Ohio Journal of Public Health ว่า ‘อะมีบากินสมอง’ ซึ่งปกติจะพบบ่อยในรัฐที่อยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐฯ ได้แพร่กระจายตัวมาเติบโตในรัฐทางเหนือแล้ว เนื่องจากภาวะโลกรวนทำให้อุณหภูมิของภูมิภาคดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปจนเอื้อต่อการดำรงอยู่ของอะมีบา   ข้อมูลจากศูนย...
การรีไซเคิล
24 พฤษภาคม 2023

วิจัยเผย การรีไซเคิลสร้างไมโครพลาสติกมหาศาล แทนที่จะช่วยปกป้องสิ่งแวดล้อม

แม้ที่ผ่านมาอุตสาหกรรมพลาสติกจะสนับสนุนกระบวนการรีไซเคิลเนื่องจากเป็นโซลูชันสำคัญที่ช่วยแก้ปัญหาขยะพลาสติกล้นเมือง แต่ผลการวิจัยล่าสุดที่ตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ Journal of Hazardous Material Advances อาจทำให้โลกต้องทบทวนอีกครั้ง หลังนักวิทยาศาสตร์เผยว่า กระบวนการรีไซเคิลอาจทำให้มีการปล่อยไมโครพลาสติกจำนวนมากสู่สิ่งแวดล้อม   ทีมนักวิทยาศ...

MOST POPULAR

Close Advertising