×

Environment

Earth Overshoot Day
31 กรกฎาคม 2019

รายงานระบุ มนุษย์ใช้ทรัพยากรโลกเกินจุดสมดุลของปี 2019 แล้วเมื่อ 29 ก.ค. ที่ผ่านมา

รายงานจากโกลบอล ฟุตพรินต์ เน็ตเวิร์ค (GFN) หรือ ‘เครือข่ายรอยเท้านิเวศโลก’ กลุ่มวิจัยนานาชาติด้านความยั่งยืนระบุว่า ‘วันหนี้นิเวศ’ (Earth Overshoot Day) มาถึงเร็วขึ้นในปี 2019 โดยตรงกับวันที่ 29 ก.ค. ที่ผ่านมา ซึ่งหมายความว่ามนุษย์เราได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ระบบนิเวศของโลกจะสามารถผลิตขึ้นมาใหม่ได้ในปี 2019 หมดแล้วภายในเวลาเพียงครึ่งปี   ...
German environmentalists urge ban on fireworks
31 กรกฎาคม 2019

เอ็นจีโอเยอรมนีเรียกร้องแบน ‘พลุปีใหม่’ ทั่วประเทศ หวังลดมลพิษทางอากาศ 5,000 ตัน

กลุ่มปฏิบัติการเพื่อสิ่งแวดล้อมเยอรมนี หรือดียูเอช (The Environmental Action Germany - DUH) ประกาศสนับสนุนมาตรการระงับการจุดดอกไม้ไฟส่วนตัวในการเฉลิมฉลองวันปีใหม่ เพื่อลดมลพิษทางอากาศในเมือง   ดียูเอชได้ส่งเอกสารเรียกร้องไปยังเมือง 31 แห่งในประเทศเยอรมนี ซึ่งมีปริมาณฝุ่นมลพิษสูงกว่าที่องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำ รวมทั้งเมืองใหญ่อย่างเบอ...
ซากกวางเรนเดียร์
30 กรกฎาคม 2019

นักสำรวจพบซากกวางเรนเดียร์กว่า 200 ตัวในนอร์เวย์ หลังได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

เมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา สื่อท้องถิ่นของนอร์เวย์อย่าง NRK รายงานว่าทีมนักสำรวจและนักชีววิทยาจาก Norwegian Polar Institute (NPI) ได้ทำการสำรวจจำนวนประชากรกวางเรนเดียร์บนเกาะสฟาลบาร์ (Svalbard) ของนอร์เวย์ตลอดระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่าจำนวนกวางเรนเดียร์ลดลงอย่างน่าตกใจ อีกทั้งยังพบซากกวางเรนเดียร์กว่า 200 ตัวที่คาดว่าจะเสียชีวิตลงเนื่องจากภาวะขาดแคลนอ...
ภาวะโลกร้อน
25 กรกฎาคม 2019

งานวิจัยชี้ โลกร้อนขึ้นมากหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม มนุษย์เป็นตัวแปรสำคัญ

งานวิจัยเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนล่าสุดที่ได้ตีพิมพ์ใน Nature ชี้ว่า ความคิดของกลุ่มคนที่ปฏิเสธว่า การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกในปัจจุบันเป็นไปตามวัฏจักรของธรรมชาตินั้น เป็นความคิดที่อาจจะไม่ถูกต้อง โดยนักวิจัยเปิดเผยว่า ภาวะโลกร้อนที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบันนี้มีสเกลที่ใหญ่อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนตลอดช่วง 2,000...
scotchforeveryoung
22 กรกฎาคม 2019

ทัวร์ถิ่นรังนกแท้ สีเหลืองทอง การเดินทางสุดพิเศษ เพื่อตามหาที่สุดแห่งอาหารบำรุงสุขภาพ [Advertorial]

ณ พื้นที่หนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เรากำลังเดินทางเข้าไปยังถ้ำธรรมชาติ ซึ่งไม่อนุญาตให้นักท่องเที่ยวและคนทั่วไปได้สัมผัส แหล่งความอุดมสมบูรณ์คือมูลค่าที่ไม่อาจประเมินค่าได้ ในขณะที่สิ่งที่อยู่ในนั้นก็ประเมินค่าไม่ได้มากกว่าเสียอีก   เป็นคำถามที่อยูในใจเรามายาวนานว่า รังนกแท้นั้นหน้าตาเป็นอย่างไร กว่าจะได้มาซึ่งรังนกแท้สีเหลืองทองที่เราน...
ปริมาณน้ำในเขื่อน
22 กรกฎาคม 2019

ปริมาณน้ำในเขื่อนยังวิกฤต 19 แห่ง มีน้ำต่ำกว่า 30% ฝนหลวงระดมเครื่องบิน 22 ลำช่วยวิกฤตภัยแล้ง

ในช่วงหลายวันที่ผ่านมา ปัญหาวิกฤตการณ์ภัยแล้งเริ่มเป็นกระแสให้พูดถึงเป็นวงกว้าง หลังมีภาพการรายงานของน้ำในเขื่อนต่างๆ เริ่มมีปริมาณลดลงอย่างต่อเนื่อง   ล่าสุดกรมชลประทานรายงานสรุปศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ เรื่อง สถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวัง ประจำวันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2562 พบว่าตัวเลขปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และกลางยังอยู่ในภาวะลด...
June 2019 was hottest on record for the globe
19 กรกฎาคม 2019

มิถุนายน 2019 เป็นมิถุนายนที่โลกร้อนที่สุดในรอบ 140 ปี นับตั้งแต่เก็บบันทึกสถิติมา

แสงแดดในช่วงเวลากลางวัน นอกจากจะทำให้เหงื่อไหลไคลย้อยแล้ว ยังทำให้รู้สึกแสบร้อนผิวเป็นอย่างมาก ล่าสุด องค์การบริหารสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐ (NOAA) เผยว่า เดือนมิถุนายนที่ผ่านมา เป็นมิถุนายนที่โลกร้อนที่สุดในรอบ 140 ปี นับตั้งแต่เก็บบันทึกสถิติมา ส่งผลให้น้ำแข็งบริเวณแอนตาร์กติกละลายลงอย่างรวดเร็ว   โดยอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกในศต...
19 กรกฎาคม 2019

ปริมาณน้ำในเขื่อนทั่วประเทศเข้าขั้นวิกฤต เหลือใช้จริงได้เฉลี่ยเพียง 24%

สืบเนื่องจากหลายวันที่ผ่านมา ปัญหาวิกฤตการณ์ภัยแล้งเริ่มเป็นกระแสให้พูดถึงเป็นวงกว้าง หลังจากมีภาพการรายงานของน้ำในเขื่อนต่างๆ เริ่มปริมาณลดน้อยลงอย่างน่าตกใจ     ล่าสุด กรมชลประทานได้รายงานสรุปศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ เรื่อง สถานการณ์น้ำและการเฝ้าระวัง ประจำวันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 (ข้อมูลของวันที่ 18 กรกฎาคม 2562)...
18 กรกฎาคม 2019

กรมควบคุมมลพิษ พัฒนาระบบคาดการณ์มลพิษ สร้างความเชื่อมั่นในข้อมูลฝุ่นละอองขนาดเล็กทั่วประเทศ

ประลอง ดำรงค์ไทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กล่าวว่า กรมควบคุมมลพิษ ได้พัฒนา ‘ระบบคาดการณ์สถานการณ์มลพิษทางอากาศ’ ใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ และสนับสนุนการบริหารจัดการปัญหาสถานการณ์ในพื้นที่เป้าหมาย อย่างพื้นที่ภาคเหนือและกรุงเทพมหานครอย่างแม่นยำมากขึ้น    โดยระบบดังกล่าวพัฒนาขึ้นบนพื้นฐานของแบบจำลองคณิตศาสตร...
climate-change in-2050
12 กรกฎาคม 2019

เมืองหลวงของสโลวีเนียอาจมีอุณหภูมิสูงขึ้น 8°C ในเดือนที่ร้อนที่สุดภายในปี 2050 ขณะที่กรุงเทพฯ เพิ่มขึ้น 3°C

    จากรายงานการวิจัยด้านสภาพภูมิอากาศโลกชิ้นล่าสุดของ Crowther Lab มหาวิทยาลัย ETH Zurich สวิตเซอร์แลนด์ ที่เผยแพร่ในวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์อย่าง PLOS ONE เมื่อไม่นานที่ผ่านมา พบว่า อุณหภูมิโลกมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้น สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างหนัก และคาดเดาได้ยากมากขึ้น   รายงานดังกล่าวยังระบุว่า กรุงลูบลิย...

MOST POPULAR

Close Advertising