×

Environment

18 มกราคม 2023

‘เสือโคร่ง’ มาตรวัดความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าที่กำลังถูกพรากชีวิตจากโลกนี้ไปอย่างไม่หยุดพัก [ADVERTORIAL]

ถึงแม้ว่า ‘ปีเสือ’ จะล่วงเลยผ่านเข้าสู่ปีกระต่าย 2566 ไปเป็นที่เรียบร้อย แต่สิ่งหนึ่งที่ไม่ได้ผ่านหมุนตามไปก็คือการดำรงอยู่ของเสือ สัตว์ที่ได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนของความดุดัน แต่ในขณะเดียวกันก็คงไว้ซึ่งความสง่างาม และทรงเสน่ห์ในแบบของพวกมันเอง    โดยเฉพาะ ‘เสือโคร่ง’ หนึ่งในสายพันธุ์ของเสือที่เปรียบได้ดั่งสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ขอ...
18 มกราคม 2023

เกรตา ธันเบิร์ก ถูกตำรวจควบคุมตัวชั่วคราว หลังร่วมประท้วงขยายเหมืองถ่านหินในเยอรมนี

เกรตา ธันเบิร์ก นักเคลื่อนไหวด้านสภาพภูมิอากาศชาวสวีเดน ถูกตำรวจควบคุมตัว ภายหลังเข้าร่วมประท้วงเหตุขยายเหมืองถ่านหินในเยอรมนี    เบื้องต้นตำรวจเยอรมนีชี้แจงว่า เกรตาพร้อมกับนักเคลื่อนไหวคนอื่นๆ ไม่ได้ถูกจับกุมตัวหรือถูกตั้งข้อหาแต่อย่างใด เพียงแต่ต้องการควบคุมตัวให้ออกไปจากพื้นที่ดังกล่าว โดยทั้งหมดได้รับการปล่อยตัวหลังตรวจสอบข้อมู...
ไบเดนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
16 มกราคม 2023

ไบเดนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในรัฐแคลิฟอร์เนีย-รัฐแอละแบมา หลังเผชิญภัยพิบัติทางสภาพอากาศรุนแรง

วานนี้ (15 มกราคม) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีโจ ไบเดนของสหรัฐอเมริกา ประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉินในสองรัฐสำคัญอย่างรัฐแคลิฟอร์เนียและรัฐแอละแบมา หลังจากเผชิญภัยพิบัติทางสภาพอากาศที่รุนแรงต่อเนื่อง    โดยไบเดนประกาศใช้ภาวะฉุกเฉินในรัฐแคลิฟอร์เนียตั้งแต่วันจันทร์ที่ผ่านมา หลังจากหลายพื้นที่ทั่วรัฐแคล...
ชั้นโอโซนโลก
10 มกราคม 2023

UN เผย ชั้นโอโซนโลกอาจฟื้นฟูสมบูรณ์ในอีกไม่กี่ทศวรรษข้างหน้า

องค์การสหประชาชาติ (UN) เปิดเผยว่า ความพยายามของมนุษย์เพื่อรักษาชั้นโอโซนโลกนั้นได้ผลดีตามที่คาดหวังไว้ และชั้นโอโซนโลกอาจใช้เวลาในการฟื้นฟูตัวเองให้กลับสู่สภาพสมบูรณ์ได้ในอีกเพียงไม่กี่สิบปีข้างหน้าเท่านั้น   รายงานการประเมินผลครั้งสำคัญจาก UN ระบุว่า พิธีสารมอนทรีออลที่จัดทำขึ้นเมื่อปี 1987 ซึ่งระบุถึงข้อห้ามในการใช้สารเคมีที่เป็นอันตร...
6 มกราคม 2023

วิจัยเผย ธารน้ำแข็งกว่าครึ่งบนโลกจะละลายหมดภายในปี 2100 แม้จะคุมอุณหภูมิได้ไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ตามความตกลงปารีส

งานวิจัยล่าสุดชี้ว่าธารน้ำแข็งครึ่งหนึ่งบนโลกของเราอาจละลายหายไปหมดภายในปี 2100 หรืออีกเพียงไม่ถึง 80 ปีข้างหน้า แม้ว่าโลกจะสามารถควบคุมไม่ให้อุณหภูมิสูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส จากช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม ตามที่ให้คำมั่นไว้ในความตกลงปารีสก็ตาม ซึ่งถือเป็นข้อมูลที่น่าตกใจว่าภาวะโลกรวนมีผลกระทบหนักหนากว่าที่มนุษย์เคยคาดการณ์ไว้ โดยรายงานระบุว่า ธารน้ำแข็ง...
5 มกราคม 2023

วิจัยเผย การแปะฉลากแจ้งว่า ‘อาหารนี้มีผลทำให้โลกรวน’ ช่วยให้คนเปลี่ยนใจไปกินอาหารที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่า

งานวิจัยซึ่งตีพิมพ์ลงในวารสารการแพทย์ JAMA Network Open เปิดเผยว่า การแปะฉลากบนอาหารฟาสต์ฟู้ดเพื่อแจ้งว่าอาหารชนิดดังกล่าวมีอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง มีผลทำให้คนเปลี่ยนใจไปเลือกรับประทานอาหารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า   ต้องเล่าย้อนกลับไปก่อนว่า อุตสาหกรรมการผลิตอาหารนั้นมียอดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกคิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 1 ใน 3 ข...
4 มกราคม 2023

ออสเตรเลียอาจเผชิญกับเอลนีโญ ส่งผลให้ปี 2023 ร้อนและแห้งแล้งเป็นประวัติการณ์

วานนี้ (3 มกราคม) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ออสเตรเลียอาจเผชิญหน้ากับปรากฏการณ์เอลนีโญภายในปี 2023 ซึ่งจะส่งผลให้ปีนี้เป็นปีที่สภาพอากาศยิ่งร้อนและแห้งแล้งเป็นประวัติการณ์ โดยก่อนหน้านี้ออสเตรเลียได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์ลานีญา ส่งผลให้มีปริมาณน้ำฝนตกลงมามากกว่าปกติ ฤดูร้อนมีอากาศที่เย็นและมีเมฆมาก ขณะที่ฤดูหนาวก็ชื้นแฉะและมีความชื้นในอากาศสูง ...
3 มกราคม 2023

วิจัยเผย เพนกวินและสิ่งมีชีวิตถึง 65% ในแอนตาร์กติกาอาจตายหมดในสิ้นศตวรรษนี้ หากเราไม่ช่วยกันลดโลกร้อน

งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร PLOS Biology เมื่อเดือนธันวาคม 2022 เปิดเผยผลการศึกษาที่น่าวิตกกังวลว่า พืชและสัตว์ถึง 65% ในแอนตาร์กติกา รวมถึงเพนกวินจักรพรรดิ อาจตายหมดภายในสิ้นศตวรรษนี้ หากมนุษย์ยังไม่ร่วมมือกันลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและลดการใช้งานเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน   นักวิทยาศาสตร์ระบุว่า อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นทำให้ธา...
ภัยธรรมชาติ
1 มกราคม 2023

ชมคลิป: KEY MESSAGES: 2022 ปีแห่งภัยธรรมชาติ สัญญาณเตือนว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมรอไม่ได้อีกต่อไป

ตลอดปี 2022 รอบโลกต้องเผชิญปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มาทั้งจากน้ำมือของมนุษย์เช่น การตัดไม้ทำลายป่าแอมะซอน ปอดของโลกที่เพิ่มสูงขึ้น จนอาจเปลี่ยนป่าแอมะซอนที่เคยเขียวชอุ่มให้กลายเป็นทุ่งหญ้าสะวันนาที่แห้งแล้ง      รวมไปถึงภัยธรรมชาติครั้งใหญ่เป็นประวัติการณ์ที่เกิดขึ้นกับหลายประเทศ ไม่ว่าจะคลื่นความร้อนทะลุ 40 องศาในยุโรป น้ำท่วมเ...
28 ธันวาคม 2022

โตเกียวบังคับบ้านใหม่ที่สร้างหลังปี 2025 ต้องติดแผงโซลาร์เซลล์ มุ่งลดปล่อยคาร์บอนระยะยาว

นับตั้งแต่เดือนเมษายน 2025 เป็นต้นไป บ้านที่สร้างใหม่โดยผู้รับเหมารายใหญ่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น จะต้องติดแผงโซลาร์เซลล์ทุกหลัง เพื่อช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศโลก อันเป็นต้นตอสำคัญที่ส่งผลให้เกิดภาวะโลกรวน   เมื่อวันที่ 15 ธันวาคมที่ผ่านมา สภากรุงโตเกียวของญี่ปุ่นมีมติออกข้อกำหนดใหม่ โดยบังคับให้ผู้รั...

MOST POPULAR


Close Advertising
X
Close Advertising