×

โตมร ศุขปรีชา

National Flag
7 ตุลาคม 2021

ธงชาติมีไว้ทำไม? ต้นกำเนิดของผืนผ้าที่รวมประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ความเชื่อ ประชากร และคุณค่าของชาติ

หลายคนอาจรู้สึกว่าการถามว่า ทำไมเราต้องมี ‘ธงชาติ’ หรือ National Flag เป็นคำถามที่ประหลาด   เพราะมันคล้ายเป็นสามัญสำนึกไปแล้ว ว่าชาติก็ต้องมีธงชาติ   แต่ลองฟังเรื่องเล่าจากหนังสือ A Flag Worth Dying For หรือ ‘ธงที่ควรค่าแก่การตายเพื่อ’ ของ ทิม มาร์แชลล์ นักเขียนชาวอังกฤษที่ทำงานเขียนเกี่ยวกับภูมิศาสตร์เรื่องนี้ดู   ...
กระสุนยาง
27 กันยายน 2021

ประวัติศาสตร์กระสุนยาง: อาวุธที่ไม่ได้หมายมั่นให้ใครตาย (แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้น)

กระสุนยางหรือ Rubber Bullets นั้น ถือเป็นยุทโธปกรณ์ประเภทที่เรียกว่า Nonlethal คือใช้แล้วไม่ได้ร้ายแรงทำให้ใครถึงตาย หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายที่จะไม่ได้ ‘สังหาร’ ใคร   อย่างไรก็ตาม การบอกว่ากระสุนยางคือกระสุนยางนี่ ชื่อก็ผิดแล้วนะครับ เพราะในบรรดากระสุนยางที่มีการผลิตกันออกมาทั้งหมด (ประมาณว่ามีอยู่ด้วยกัน 75 แบบ) มีน้อยเจ้ามากที่ผลิ...
ดนตรี
19 สิงหาคม 2021

มนุษย์เป็นสัตว์ดนตรีจริงไหม ดนตรีและเครื่องดนตรีมาจากไหน ย้อนประวัติศาสตร์หาต้นตอเสียงเพลงที่จรรโลงมนุษยชาติมาเนิ่นนาน

เวลาฟังดนตรี คุณเคยสงสัยไหมว่า - ใครเป็นคนคิดประดิษฐ์ ‘เครื่องดนตรี’ ขึ้นมาเป็นครั้งแรก เวลาฟังเสียงร้องเพลง คุณเคยสงสัยไหมว่า - คนโบราณที่ไม่รู้จักทฤษฎีดนตรีมาก่อน เขาร้องเพลงแบบไหนกัน เสียงร้องเพลงมาจากเสียงคำรามได้ไหม หรือเป็นเสียงเกี้ยวพาน แล้วทำไมแมวหมากาไก่ถึงไม่รู้จักร้องออกมาเป็นเพลง หรือแม้กระทั่งนกกางเขนบ้านที่เปล่งเสียงออกมาเหมือน...
ประวัติศาสตร์โคโรนาไวรัส
30 กรกฎาคม 2021

ประวัติศาสตร์โคโรนาไวรัส: เรารู้จักไวรัสชนิดนี้มาตั้งแต่เมื่อไร และใครคือผู้ค้นพบ

เราพิศดูรูปลักษณ์ของไวรัสชนิดใหม่อย่างใกล้ชิด และสังเกตว่ามันมีลักษณะคล้ายรัศมีแผ่ออกไปรอบตัว เมื่อหันไปพึ่งพจนานุกรมเพื่อหาศัพท์ละตินที่เทียบเท่า ก็ได้คำว่า ‘โคโรนา’ และนั่นเอง ชื่อของ ‘โคโรนาไวรัส’ จึงได้บังเกิดขึ้น   ตอนหนึ่งจากหนังสือ Cold Wars: The Fight Against the Common Cold โดย เดวิด ไทเรลล์ ผู้ค้นพบโคโรนาไวรัสในมนุษย์เป็นครั้งแร...
ซาราห์ กิลเบิร์ต
14 กรกฎาคม 2021

รู้จัก ซาราห์ กิลเบิร์ต ผู้หญิงที่อยู่เบื้องหลังวัคซีน AstraZeneca

​เมื่อไม่นานมานี้ ในการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดันอันเป็นศึกแกรนด์สแลมหนึ่งในสี่ของโลกที่กรุงลอนดอน ผู้คนทั้งสนามได้ลุกขึ้นมาปรบมือให้กับผู้หญิงธรรมดาๆ คนหนึ่ง ผู้หญิงที่ขี้อาย ผู้หญิงที่ไม่ชอบตกเป็นเป้าสายตา ผู้หญิงที่ไม่อยากเด่นดัง   ​แต่ช่วยไม่ได้ - ที่งานของเธอช่วยชีวิตมนุษย์นับล้านๆ และเป็นงานของเธอนี่เองที่เรียกเสียงปรบมือรวมทั้งเสียงย...
Moderna
30 มิถุนายน 2021

ก่อนมี Pfizer และ Moderna ย้อนประวัติศาสตร์ของวัคซีน mRNA ความหวังของโลกในการหยุดยั้งโควิด

หลายคนบอกว่า วัคซีนที่ใช้เทคโนโลยี mRNA เป็นของใหม่ จึงอาจเกิดผลข้างเคียงที่คาดไม่ถึงได้ในอนาคต   คำถามก็คือ แล้วอะไรคือเทคโนโลยี mRNA หรือ mRNA Vaccine คืออะไร มัน ‘ใหม่’ อย่างที่ว่ากันจริงหรือเปล่า   รู้จัก mRNA สร้าง ‘โล่’ คุ้มกันให้ร่างกายด้วยการจดจำ ‘อาวุธ’ ของเชื้อโรค แน่นอน เรารู้กันอยู่แล้วว่าวัคซีนชนิดต่างๆ นั้นช่วยป้อ...
ประวัติศาสตร์วัคซีน
17 มิถุนายน 2021

ประวัติศาสตร์วัคซีน – กับหนังวัวตัวสำคัญ

1 บนผนังห้องสมุดของโรงเรียนแพทย์เซนต์จอร์จ (St. George’s Medical School) ในย่านทูทติง (Tooting) ที่อยู่ทางตอนใต้ของกรุงลอนดอน มีหนังของวัวตัวหนึ่งติดประดับอยู่   หนังวัวก็คือหนังวัว - หลายคนอาจคิดอย่างนั้น และไม่เห็นความสำคัญใดๆ ของหนังวัวตัวนี้   มันคือวัวกลอสเตอร์ (Gloucester Cow) ที่มีชื่อน่ารักว่า บลอสซัม (Blossom) แต่ไม่...
การพลิกกลับของขั้วแม่เหล็กโลก
25 กุมภาพันธ์ 2021

เมื่อโลกพลิกผัน: การพลิกกลับของขั้วแม่เหล็กโลกและการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่

หลายคนคงเคยได้ยินเรื่อง ‘การพลิกกลับของขั้วแม่เหล็กโลก’ ซึ่งเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Geomagnetic Reversal กันมาบ้างแล้ว หลายคนสงสัยว่านี่เป็นเรื่องในนิยายวิทยาศาสตร์หรือเปล่า แต่ต้องบอกคุณว่ามันเกิดขึ้นได้จริง โดยอย่าสับสนเรื่องขั้วแม่เหล็กโลกนี้กับ ‘ทิศ’ นะครับ เพราะทิศเหนือก็ยังคงเป็นทิศเหนือเหมือนที่เรารู้ โลกไม่ได้หมุนกลับข้างเหมือนเราหมุนส้ม แต่...
Oumuamua ข่าวประหลาดจากต่างดาวที่ท้าทาย ‘ความบ้า’ และ ‘ความกล้า’ ในวงการวิทยาศาสตร์
9 กุมภาพันธ์ 2021

Oumuamua ข่าวประหลาดจากต่างดาวที่ท้าทาย ‘ความบ้า’ และ ‘ความกล้า’ ในวงการวิทยาศาสตร์

เมื่อเร็วๆ นี้ นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์จากฮาร์วาร์ดคนหนึ่งให้สัมภาษณ์เรื่องที่น่าสนใจมาก นั่นคือเป็นไปได้อย่างยิ่ง - ที่เมื่อไม่กี่ปีก่อน จะมี ‘ยานอวกาศ’ จากกาแล็กซีอื่นผ่านเข้ามาในระบบสุริยะของเรา   นี่ไม่ใช่เรื่องล้อเล่น เพราะเขาเขียนร่างบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร Astrophysical Journal Letters กันเลยทีเดียว (ดูรายละเอียดได้ที่นี่...
วิทยาศาสตร์ของความหน้าตาดี
26 พฤศจิกายน 2019

วิทยาศาสตร์ของความหน้าตาดี: ความสวย หล่อมีจริงไหม หรือเป็นแค่ ‘เปลือกนอก’ ที่คิดกันไปเอง

คุณเคยสงสัยไหมว่า ทำไมคนบางคนถึง ‘หน้าตาดี’ กว่าคนอื่น   ที่จริงแล้ว การที่ใครจะหน้าตาเป็นอย่างไรนั้นไม่น่าสงสัยเท่าไร เพราะหลักๆ เป็น ‘ความบังเอิญทางพันธุกรรม’ ทั้งนั้น ที่กำหนดให้ผิวออกมาละเอียด ตากลมโต ผมเส้นเล็กสลวย หรือจมูกโด่งคมเป็นสัน สีของนัยน์ตากระจ่างสวย ฯลฯ   แต่ความหน้าตาดีไม่ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะทางกายภาพของตัวเราเ...


X