×

Myanmar

reuters-journalists-freed-in-myanmar
7 พฤษภาคม 2019

สองนักข่าว Reuters กับอิสรภาพที่รอคอยนานกว่า 500 วัน

กว่า 500 วันแห่งพันธนาการสู่อิสรภาพที่พวกเขาถวิลหา วาโลนและจ่อซออู สองนักข่าวชาวเมียนมาของ Reuters ที่ถูกจับกุมหลังพยายามขุดคุ้ยปมการสังหารหมู่ชาวโรฮีนจาในรัฐยะไข่ ในช่วงระหว่างการกวาดล้างของกองทัพเมียนมาปี 2017 ถูกปล่อยตัวจากเรือนจำ หลังได้รับอภัยโทษจากประธานาธิบดีเมียนมา ท่ามกลางความยินดีของเพื่อนนักข่าวและกลุ่มสิทธิมนุษยชนทั่วโลก...
Reuters reporters
7 พฤษภาคม 2019

สองนักข่าวรอยเตอร์สได้รับอิสรภาพ หลังถูกจองจำในเมียนมานานกว่า 500 วัน

ผู้สื่อข่าวรอยเตอร์ส 2 คนที่ถูกคุมขังในเมียนมาจากข้อหาทำผิดกฎหมายความลับของทางการ (Official Secrets Act) ได้รับการปล่อยตัวเป็นอิสระแล้ว หลังถูกจองจำนานกว่า 500 วัน   วาโลน วัย 33 ปี และ จ่อซออู วัย 29 ปี ชาวเมียนมา ถูกจับกุมในเดือนธันวาคม ปี 2017 หลังพยายามขุดคุ้ยปมการสังหารหมู่ชาวโรฮีนจา 10 คนที่รัฐยะไข่ในช่วงระหว่างการกวาดล้างของทหารเมียน...
24 เมษายน 2019

ดินโคลนถล่มเหมืองหยกในรัฐคะฉิ่น คนงานเหมืองกว่า 54 ชีวิตติดอยู่เบื้องล่าง หวั่นเสียชีวิตทั้งหมด

เกิดเหตุดินโคลนถล่มเหมืองหยกในรัฐคะฉิ่น ทางตอนเหนือของเมียนมา เป็นเหตุให้คนงานเหมืองกว่า 54 คนที่กำลังนอนหลับติดอยู่ภายใต้กองโคลน ขณะนี้ทีมกู้ภัยเร่งช่วยเหลือและค้นหาผู้รอดชีวิตเพิ่มเติมโดยแข่งขันกับเวลา หลังจากพบร่างผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 3 คน และเชื่อว่าอีก 51 คนที่ติดอยู่เบื้องล่างยังคงรอการช่วยเหลือ แม้จะหวั่นเสียชีวิตทั้งหมดก็ตาม   ...
Myanmar
19 เมษายน 2019

เมียนมาปล่อยตัวนักโทษ 9,535 คนในวันขึ้นปีใหม่ ไร้เงา 2 นักข่าว Reuters เจ้าของรางวัลพูลิตเซอร์ประจำปี 2019

เมื่อวันพุธที่ผ่านมา (17 เม.ย.) เมียนมาปล่อยตัวนักโทษมากกว่า 9,000 คน เนื่องในโอกาสเทศกาลติ่นจา หรืองานสงกรานต์ ซึ่งถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ของชาวเมียนมา เพื่อสะท้อนถึงความมีมนุษยธรรมในสังคมเมียนมา ซึ่งนักโทษส่วนใหญ่เป็นผู้ต้องโทษในคดียาเสพติด   ประธานาธิบดีวินมยินของเมียนมา ระบุว่า ในครั้งนี้ทางการอภัยโทษผู้ต้องขังมากถึง 9,535 คน โดยเป็นชาวต่า...
5 มีนาคม 2019

ขอจิ๋มพูด! ละครเวทีเวอร์ชันเมียนมาที่จะทำให้การพูดคุยเรื่องเซ็กซ์เป็นเรื่องปกติ

จะเป็นอย่างไร ถ้าวันหนึ่ง ‘จิ๋ม’ พูดได้นี่คือบรรยากาศการซ้อมละครเวที ‘ขอจิ๋มพูด’ (The Vagina Monologues) บทประพันธ์ยอดนิยมของ Eve Ensler ในยุค 90s ที่จะถูกแสดงเป็นครั้งแรกในเวอร์ชันภาษาเมียนมา...
myanmar-yangon-colonial-buildings
15 กุมภาพันธ์ 2019

ลัดเลาะเส้นทางประวัติศาสตร์! พาชม 10 ตึกยุคโคโลเนียลในย่างกุ้ง ภาพสะท้อนความรุ่งเรืองเหนือกาลเวลา

‘ย่างกุ้ง’ อดีตเมืองหลวงของเมียนมา เมืองที่มีความรุ่มรวยทางวัฒนธรรมมากที่สุดเมืองหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นพื้นที่ที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมดั้งเดิมกับวัฒนธรรมต่างชาติที่เข้ามาในช่วงที่ประเทศกลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษ สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นจึงมีกลิ่นอายของความเป็นตะวันตกอยู่มาก     อดีตศูนย์กลาง...
28 มกราคม 2019

มหาเจดีย์ชเวดากอง ศูนย์รวมจิตใจและแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่วเมียนมา

มหาเจดีย์ชเวดากอง 1 ใน 5 มหาบูชาสถานที่พุทธศาสนิกชนชาวเมียนมาทุกคนควรมาสักการะสักครั้งหนึ่งในชีวิตกำลังอยู่ระหว่างการบูรณะ มีการเรี่ยไรเงินทำบุญและเงินบริจาคจำนวนมาก เพื่อบำรุงรักษาและปฏิสังขรณ์ให้องค์มหาเจดีย์และสถูปเจดีย์โดยรอบกลับมามีสีทองอร่ามสวยงามตามเดิม หลังจากเริ่มชำรุดตามกาลเวลา     ตามความเชื่อเดิม มหาเจดีย์ที่ตั้งอยู่ใ...
14 พฤศจิกายน 2018

“ฆ่าพวกเราให้ตายที่นี่ดีกว่าส่งพวกเรากลับไป” เสียงสะท้อนอันสั่นเทาจากผู้ลี้ภัยชาวโรฮีนจา

วิกฤตผู้ลี้ภัยชาวโรฮีนจาดำเนินมาอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวิกฤตการณ์ระดับโลก มีชาวโรฮีนจาอพยพหนีการกวาดล้างจากกองทัพเมียนมากว่า 720,000 คน นับตั้งแต่เดือนสิงหาคมที่ผ่านมา   หนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญคือบังกลาเทศ ที่นี่จัดตั้งแคมป์ผู้ลี้ภัยเพื่อรองรับพลเมืองโลกหลายแสนคนที่กำลังประสบปัญหา   ล่าสุดรัฐบาลบังกลาเทศเจรจาก...
1 พฤศจิกายน 2018

ธุรกิจซื้อขายเส้นผมกำลังเติบโตในเมียนมา สร้างเม็ดเงินกว่า 200 ล้านบาทในปี 2017

หนึ่งในธุรกิจที่ดูเหมือนจะสร้างเม็ดเงินให้กับเมียนมาภายหลังจากการเปิดประเทศคงจะหนีไม่พ้น ธุรกิจการซื้อขายเส้นผมที่ทำกำไรได้จำนวนมากในแต่ละปี ซึ่งนับตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นมา รายงานสหประชาชาติระบุว่าเมียนมากลายเป็นผู้ส่งออกเส้นผมรายใหญ่อันดับ 4 ของโลก   โดยเฉพาะในปี 2017 ที่ผ่านมา เมียนมามีรายได้จากการส่งออกเส้นผมสูงถึง 6.2 ล้านเหรียญสหรั...
3 ตุลาคม 2018

คนแรกในประวัติศาสตร์! ออง ซาน ซูจี ถูกถอดจากตำแหน่งพลเมืองกิตติมศักดิ์ของแคนาดาแล้ว

หลังจากที่มีการยื่นญัตติเพิกถอนตำแหน่งพลเมืองกิตติมศักดิ์ของแคนาดาของ ออง ซาน ซูจี เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 1991 เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา ล่าสุดออง ซาน ซูจี พ้นสภาพจากตำแหน่งดังกล่าวที่ได้รับมาเมื่อปี 2007 แล้ว เนื่องจากการละเลยและเพิกเฉยต่อปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ โดยเฉพาะกรณีการกวาดล้างชาวโรฮีนจา ซึ่งส่งผลให้ปัญหาผู้อพยพและผ...


Close Advertising
X