×

Myanmar

5 มีนาคม 2019

ขอจิ๋มพูด! ละครเวทีเวอร์ชันเมียนมาที่จะทำให้การพูดคุยเรื่องเซ็กซ์เป็นเรื่องปกติ

จะเป็นอย่างไร ถ้าวันหนึ่ง ‘จิ๋ม’ พูดได้นี่คือบรรยากาศการซ้อมละครเวที ‘ขอจิ๋มพูด’ (The Vagina Monologues) บทประพันธ์ยอดนิยมของ Eve Ensler ในยุค 90s ที่จะถูกแสดงเป็นครั้งแรกในเวอร์ชันภาษาเมียนมา...
myanmar-yangon-colonial-buildings
15 กุมภาพันธ์ 2019

ลัดเลาะเส้นทางประวัติศาสตร์! พาชม 10 ตึกยุคโคโลเนียลในย่างกุ้ง ภาพสะท้อนความรุ่งเรืองเหนือกาลเวลา

‘ย่างกุ้ง’ อดีตเมืองหลวงของเมียนมา เมืองที่มีความรุ่มรวยทางวัฒนธรรมมากที่สุดเมืองหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นพื้นที่ที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมดั้งเดิมกับวัฒนธรรมต่างชาติที่เข้ามาในช่วงที่ประเทศกลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษ สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นจึงมีกลิ่นอายของความเป็นตะวันตกอยู่มาก     อดีตศูนย์กลาง...
28 มกราคม 2019

มหาเจดีย์ชเวดากอง ศูนย์รวมจิตใจและแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่วเมียนมา

มหาเจดีย์ชเวดากอง 1 ใน 5 มหาบูชาสถานที่พุทธศาสนิกชนชาวเมียนมาทุกคนควรมาสักการะสักครั้งหนึ่งในชีวิตกำลังอยู่ระหว่างการบูรณะ มีการเรี่ยไรเงินทำบุญและเงินบริจาคจำนวนมาก เพื่อบำรุงรักษาและปฏิสังขรณ์ให้องค์มหาเจดีย์และสถูปเจดีย์โดยรอบกลับมามีสีทองอร่ามสวยงามตามเดิม หลังจากเริ่มชำรุดตามกาลเวลา     ตามความเชื่อเดิม มหาเจดีย์ที่ตั้งอยู่ใ...
14 พฤศจิกายน 2018

“ฆ่าพวกเราให้ตายที่นี่ดีกว่าส่งพวกเรากลับไป” เสียงสะท้อนอันสั่นเทาจากผู้ลี้ภัยชาวโรฮีนจา

วิกฤตผู้ลี้ภัยชาวโรฮีนจาดำเนินมาอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวิกฤตการณ์ระดับโลก มีชาวโรฮีนจาอพยพหนีการกวาดล้างจากกองทัพเมียนมากว่า 720,000 คน นับตั้งแต่เดือนสิงหาคมที่ผ่านมา   หนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สำคัญคือบังกลาเทศ ที่นี่จัดตั้งแคมป์ผู้ลี้ภัยเพื่อรองรับพลเมืองโลกหลายแสนคนที่กำลังประสบปัญหา   ล่าสุดรัฐบาลบังกลาเทศเจรจาก...
1 พฤศจิกายน 2018

ธุรกิจซื้อขายเส้นผมกำลังเติบโตในเมียนมา สร้างเม็ดเงินกว่า 200 ล้านบาทในปี 2017

หนึ่งในธุรกิจที่ดูเหมือนจะสร้างเม็ดเงินให้กับเมียนมาภายหลังจากการเปิดประเทศคงจะหนีไม่พ้น ธุรกิจการซื้อขายเส้นผมที่ทำกำไรได้จำนวนมากในแต่ละปี ซึ่งนับตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นมา รายงานสหประชาชาติระบุว่าเมียนมากลายเป็นผู้ส่งออกเส้นผมรายใหญ่อันดับ 4 ของโลก   โดยเฉพาะในปี 2017 ที่ผ่านมา เมียนมามีรายได้จากการส่งออกเส้นผมสูงถึง 6.2 ล้านเหรียญสหรั...
3 ตุลาคม 2018

คนแรกในประวัติศาสตร์! ออง ซาน ซูจี ถูกถอดจากตำแหน่งพลเมืองกิตติมศักดิ์ของแคนาดาแล้ว

หลังจากที่มีการยื่นญัตติเพิกถอนตำแหน่งพลเมืองกิตติมศักดิ์ของแคนาดาของ ออง ซาน ซูจี เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 1991 เมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา ล่าสุดออง ซาน ซูจี พ้นสภาพจากตำแหน่งดังกล่าวที่ได้รับมาเมื่อปี 2007 แล้ว เนื่องจากการละเลยและเพิกเฉยต่อปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ โดยเฉพาะกรณีการกวาดล้างชาวโรฮีนจา ซึ่งส่งผลให้ปัญหาผู้อพยพและผ...
13 กันยายน 2018

ออง ซาน ซูจี ยันแก้วิกฤตรัฐยะไข่ด้วยหลักนิติธรรม ชี้กรณีขังนักข่าวรอยเตอร์สเป็นไปตามครรลองกฎหมาย

ในเวทีประชุมสัมมนา World Economic Forum on ASEAN 2018 ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม นางออง ซาน ซูจี ผู้นำโดยพฤตินัยของเมียนมา ชี้แจงเกี่ยวกับสถานการณ์ในรัฐยะไข่ว่า ทางการรับทราบปัญหาอยู่แล้ว และเชื่อว่าจะสามารถแก้ไขสถานการณ์ให้ดีขึ้นได้ ส่วนกรณีการกักขัง 2 นักข่าวรอยเตอร์สหลังศาลพิพากษาว่ามีความผิดกรณีขุดคุ้ยเหตุการณ์สังหารหมู่ชาวโรฮีนจานั้น นางซูจีย...
13 กันยายน 2018

ไทยติดรายชื่อประเทศที่มีวิธีปฏิบัติ ‘น่าละอาย’ กรณีคุกคามนักสิทธิมนุษยชนที่ร่วมมือกับ UN

สหประชาชาติ (UN) จัดทำบัญชีรายชื่อ 38 ประเทศที่มีวิธีปฏิบัติ ‘น่าละอาย’ เช่น ใช้กำลังอย่างเกรี้ยวกราดและขู่เข็ญบุคคลที่ร่วมมือกับ UN ในเรื่องสิทธิมนุษยชน โดยมีประเทศไทยถูกขึ้นบัญชีด้วย รวมถึงจีน, อิสราเอล, รัสเซีย และอินเดีย ส่วนประเทศสมาชิกอาเซียนที่ติดในรายงานฉบับนี้ ได้แก่ เมียนมาและฟิลิปปินส์   ในรายงานประจำปีของ อันโตนิโอ กูเตอร์เรส...
3 กันยายน 2018

ศาลเมียนมาตัดสินจำคุก 2 นักข่าว Reuters 7 ปี ปมรายงานข่าววิกฤตโรฮีนจาปีที่แล้ว

ศาลในเมืองย่างกุ้งมีคำตัดสินให้จำคุก วา โล และ จอ โซ อู สองนักข่าวประจำสำนักข่าวรอยเตอร์ส (Reuters) เป็นเวลา 7 ปี ในข้อหาล้วงข้อมูลลับของประเทศ หลังจากที่พวกเขารายงานสถานการณ์ความรุนแรงในรัฐยะไข่ จากกรณีที่ทหารปราบปรามชาวโรฮีนจาอย่างรุนแรง ขณะที่ประชาชนในเมียนมาหลายสิบคนได้รวมตัวเดินขบวนประท้วงในนครย่างกุ้งเพื่อเรียกร้องให้ทางการปล่อยตัวนักข่าวรอยเ...
28 สิงหาคม 2018

รายงานยูเอ็นเผย ผู้นำกองทัพเมียนมาอาจถูกตั้งข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุ หลังวิกฤตโรฮีนจายังคงวิกฤตเมื่อผ่านไป 1 ปี

รายงานสหประชาชาติชิ้นล่าสุดระบุว่า ผู้นำกองทัพเมียนมาทั้ง 6 คน หนึ่งในนั้นคือ นายพล Min Aung Hlaing อาจถูกศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) ต้ังข้อหาและนำตัวขึ้นสู่ศาลฐานทำการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุในรัฐยะไข่ รวมถึงก่ออาชญากรรมที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงในพื้นที่อื่นๆ จนเกิดเป็นวิกฤตโรฮีนจา ที่ทำให้ปัญหาผู้อพยพและผู้ลี้ภัยในประชาคมโลกทวีความรุนแรงมากยิ่งข...

Close Advertising