×

เงินบาทแข็งค่า

เงินบาท
26 กันยายน 2024

เงินบาทจะแข็งถึงไหน? กระทบเศรษฐกิจไทยอย่างไร?

ตั้งแต่ต้นปี (YTD) เงินบาทแข็งค่ากว่า 4% แล้ว นับว่าแข็งค่าและผันผวนเป็นอันดับต้นๆ ของภูมิภาค โดยมีกรอบการเคลื่อนไหวในช่วง 1 ปี (52-Week Range) อยู่ที่ราว 32.56-37.25 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ   โดยเมื่อวันที่ 25 กันยายน พิมพ์พันธ์ เจริญขวัญ ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า ช่วงที่ผ่านมาเงินบาทผันผวนมากขึ้น ...
25 กันยายน 2024

ส่งออกไทยขยายตัว 7% ในเดือนสิงหาคม คาดบาทแข็งเริ่มเห็นผลกระทบช่วงปลายปีนี้

กระทรวงพาณิชย์เผย ส่งออกไทยขยายตัว 7% ในเดือนสิงหาคม หลังจากขยายตัวกว่า 15% ในเดือนก่อน คาดเงินบาทแข็งเริ่มเห็นผลกระทบปลายปี   วันนี้ (25 กันยายน) พูนพงษ์ นัยนาภากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า การส่งออกของไทยในเดือนสิงหาคมมีมูลค่า 26,182.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว 7.0% ขณะที่การส่งออกไท...
25 กันยายน 2024

ชมคลิป: จับตา ‘เงินบาท’ แข็งค่าเร็ว ฉุดส่งออก-ท่องเที่ยวรายได้หาย | Morning Wealth 25 ก.ย. 2567

จับตาเงินบาทแข็งค่าเร็ว คาดทุก 1% ฉุดส่งออก สูญรายได้ 1 แสนล้านบาท ส่วนท่องเที่ยวรายได้หาย 1.5 หมื่นล้านบาท จะกลายเป็นความเสี่ยงใหม่ฉุดเศรษฐกิจไทยหรือไม่ พูดคุยกับ พิชัย นริพทะพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ‌ เปิดลิสต์กลุ่มธุรกิจใด ‘กระทบหนัก’ หากขึ้นค่าแรง 400 บาท รายละเอียดเป็นอย่างไร   ติดตาม รายการ Morning Wealth ทุกวัน จันทร์ – ศ...
19 กันยายน 2024

เงินบาทแข็งแบบตะโกน

‘เงินบาทแข็ง’ เป็นประเด็นที่ทำให้นักลงทุนไทยปวดหัวหนักในช่วงนี้    แม้ในทางทฤษฎี ทิศทางของเงินบาทจะเป็นบวกกับความมั่งคั่งของคนไทยโดยรวม แต่หลายคนนำเงินลงทุนไปต่างประเทศแล้วช่วงนี้จึงขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ส่วนนักลงทุนที่ยังไม่ได้นำเงินออกไปก็เกิดความกังวลเรื่องจังหวะการลงทุน ว่าเงินบาทจะแข็งไปกว่านี้ไหม   ผมจึงชวนวิเครา...
13 กันยายน 2024

เงินบาทแข็งค่าสุดในรอบ 21 เดือน! แบงก์ชาติมองมาจากปัจจัยภายนอกเป็นหลัก ส่วนปัจจัยในประเทศยังมีผลไม่มาก

เงินบาทแข็งค่าสุดในรอบ 21 เดือน ธนาคารไทยพาณิชย์ประเมินกรอบค่าเงินบาทวันนี้อยู่ที่ 33.20-33.45 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ด้านแบงก์ชาติมองเป็นผลมาจากปัจจัยภายนอกเป็นหลัก ขณะที่ภาวะเงินไหลกลับตลาดเงินตลาดทุนไทยยังมีผลไม่มาก พร้อมยืนยันดูแลใกล้ชิด   วันนี้ (13 กันยายน) ช่วงเช้า เงินบาทเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 33.25-33.46 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งถือเป็น...
6 กันยายน 2024

เงินบาทแข็งค่าสุดในรอบ 16 เดือน! แตะ 33.5 บาทต่อดอลลาร์ จับตาตัวเลขจ้างงานสหรัฐฯ คืนนี้

วันนี้ (6 กันยายน) เงินบาทเคลื่อนไหวอยู่ที่ 33.5 บาทต่อดอลลาร์ นับเป็นระดับที่แข็งค่าที่สุดในรอบ 16 เดือน หรือตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2023 แข็งค่าขึ้นจากช่วงต้นปีนี้เกือบ 2% จับตาข้อมูลการจ้างงานสหรัฐฯ คืนวันศุกร์นี้ ปัจจัยสำคัญที่ชี้ชะตาแนวโน้มดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed), ทิศทางดอลลาร์, บอนด์ยีลด์สหรัฐฯ, ราคาทองคำ และเงินบาท   ก...
เงินบาท
2 กันยายน 2024

เงินบาท ‘แข็งค่า’ อันดับต้นๆ ของภูมิภาคในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา ส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยอย่างไร

ในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา (ตั้งแต่สิ้นมิถุนายน-สิ้นสิงหาคม) เงินบาท แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ โดยไปทำสถิติแข็งค่าที่สุดใหม่ของปีที่ราว 33.8 บาทต่อดอลลาร์ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2567   เมื่อเทียบกับหลายประเทศในเอเชียพบว่า เงินบาท ไทยแข็งเป็นอันดับต้นๆ ของภูมิภาคในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา เป็นรองเพียงเยนญี่ปุ่นและริงกิต...
21 สิงหาคม 2024

จับตาเงินบาท ก็อาจ ‘แข็งค่า’ ทดสอบโซนแนวรับสำคัญ 34.00 บาทต่อดอลลาร์

Krungthai GLOBAL MARKETS ประเมินว่า ในระยะสั้นเงินบาทก็อาจแข็งค่าทดสอบโซนแนวรับสำคัญ 34.00 บาทต่อดอลลาร์ได้ ตามโมเมนตัมการแข็งค่าที่ยังคงมีกำลังอยู่ จนกว่าตลาดจะรับรู้ปัจจัยใหม่ๆ เพิ่มเติม    วันนี้ (21 สิงหาคม) พูน พานิชพิบูลย์ นักกลยุทธ์ตลาดเงินตลาดทุน Krungthai GLOBAL MARKETS ธนาคารกรุงไทย เปิดเผยว่า ค่าเงินบาทเปิดเช้านี้ที่ระดับ...
ค่าเงินบาท
1 สิงหาคม 2024

บาทแข็งสุดในรอบ 5 เดือน เปิด 35.48 บาทต่อดอลลาร์ หลัง Fed ส่งสัญญาณหั่นดอกเบี้ยในเดือนกันยายน

ค่าเงินบาทเปิดเช้านี้ (1 สิงหาคม) ที่ระดับ 35.48 บาทต่อดอลลาร์ แข็งค่ามากที่สุดในรอบราว 5 เดือน หลังผลการประชุม Fed และถ้อยแถลงของประธาน Fed ล่าสุดยังส่งสัญญาณว่า Fed มีโอกาสที่จะเริ่มลดดอกเบี้ยได้ในการประชุมเดือนกันยายนนี้   พูน พานิชพิบูลย์ นักกลยุทธ์ตลาดเงินตลาดทุน Krungthai GLOBAL MARKETS ธนาคารกรุงไทย เปิดเผยว่า ค่าเงินบาทเปิดเช้านี...
ค่าเงินบาท
2 กรกฎาคม 2024

ครบรอบ 27 ปี ‘ลอยตัวค่าเงินบาท’ จับตาปัญหาโครงสร้างเศรษฐกิจไทยที่อาจกดดันบาท ‘เสื่อมค่า’ ในอนาคต

วันนี้เมื่อ 27 ปีที่แล้ว (2 กรกฎาคม 1997) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ประกาศลอยตัวค่าเงินบาท โดยเปลี่ยนจากการผูกกับค่าเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ (Pegged Exchange Rate) มาเป็นระบบลอยตัวแบบมีการบริหารจัดการ (Managed Float) หลังจากถูกโจมตีค่าเงินบาทอย่างหนักจากกองทุนเฮดจ์ฟันด์หลายครั้ง จนทำให้เงินสำรองระหว่างประเทศลดลงจาก 4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็น 2.85...


Close Advertising