×

สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)

25 มิถุนายน 2020

25 มิถุนายน 2459 – สถานีรถไฟกรุงเทพเปิดใช้งาน

สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือเรียกกันทั่วไปว่าหัวลำโพง เริ่มก่อสร้างในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 คือในปี 2453 การก่อสร้างจึงแล้วเสร็จและเปิดใช้บริการอย่างเป็นทางการ โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ ทรงกระทำพิธีกดปุ่มสัญญาณไฟฟ้าให้รถไฟขบวนแรกเดินเข้าสู่สถานีกรุงเทพเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2459   สถานีรถไฟกรุงเทพสร้างอยู่บนพื้นที่ 120 ไร่เ...
หัวลำโพง โควิด-19
13 เมษายน 2020

หัวลำโพงก่อนสงกรานต์ที่ไม่มีวันหยุด

สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่หลายคนอาจคุ้นเคยกับชื่อสถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานที่ที่อยู่คู่กับสงกรานต์ เทศกาลปีใหม่ของไทย ซึ่งจะเป็นจุดหมายของใครหลายคนในกรุงเทพฯ เพื่อออกเดินทางกลับภูมิลำเนาระหว่างเทศกาล และวันหยุดประจำปี    เช่นเดียวกับช่างภาพข่าวหลายชีวิตที่มักจะเตรียมบันทึกภาพการเดินทางของผู้คนที่เตรียมออกเดินทางกลับบ้านอย่างหนาแน่น แ...
1 มกราคม 2020

หัวลำโพงคึกคัก คนเดินทางกลับเข้า เตรียมลุยงานพรุ่งนี้

ประชาชนเริ่มทยอยเดินทางกลับเข้ากรุงเทพมหานครในช่วงเย็นของวันนี้ (1 มกราคม) ที่สถานีรถไฟกรุงเทพ หัวลำโพง หลังจากกลับภูมิลำเนาและท่องเที่ยวในช่วงวันหยุดยาวเทศกาลปีใหม่ 2563 โดยบางส่วนได้นำสิ่งของอุปโภคบริโภคเช่น ข้าวสาร ผลไม้ และของแห้งต่างๆ กลับมาจากบ้านเกิดของตนเองด้วย เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้ชีวิตที่เมืองหลวง     ...
28 ธันวาคม 2019

หัวลำโพงเริ่มคึกคักต้อนรับช่วงปีใหม่

ประชาชนใช้บริการรถไฟเพื่อกลับภูมิลำเนาและท่องเที่ยว ขณะที่นักท่องเที่ยวต่างชาติก็ใช้บริการรถไฟเพื่อท่องเที่ยวไปยังภูมิภาคต่างๆ ในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2563 โดยบรรยากาศที่สถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) เริ่มมีประชาชนทยอยมาใช้บริการ ขณะที่รถไฟสายอีสานปริมาณผู้โดยสารยังไม่หนาแน่นมาก แต่ตั๋วบางเที่ยวเต็มแล้ว เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2562   ...
25 มิถุนายน 2019

103 ปีต่อมา นับแต่วันเปิดใช้งานสถานีรถไฟหัวลำโพงครั้งแรก

สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือเรียกกันทั่วไปว่า หัวลำโพง เริ่มก่อสร้างในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 คือในปี พ.ศ. 2453 การก่อสร้างแล้วเสร็จ และเปิดใช้บริการอย่างเป็นทางการ โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ ทรงกระทำพิธีกดปุ่มสัญญาณไฟฟ้าให้รถไฟขบวนแรกเดินเข้าสู่สถานีกรุงเทพ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459   สถานีรถไฟกรุงเทพ สร้างอยู่บนพื้นท...
สถานีรถไฟกรุงเทพ
25 มิถุนายน 2019

25 มิถุนายน 2459 – สถานีรถไฟกรุงเทพ เปิดใช้งาน

สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือเรียกกันทั่วไปว่า หัวลำโพง เริ่มก่อสร้างในปลายสมัยรัชกาลที่ 5 คือในปี พ.ศ. 2453 การก่อสร้างแล้วเสร็จ และเปิดใช้บริการอย่างเป็นทางการ โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ ทรงกระทำพิธีกดปุ่มสัญญาณไฟฟ้าให้รถไฟขบวนแรกเดินเข้าสู่สถานีกรุงเทพ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459   สถานีรถไฟกรุงเทพ สร้างอยู่บนพื้นท...
สถานีหัวลำโพง
16 เมษายน 2019

การกลับสู่วันทำงานในเมืองหลวงด้วยขบวนรถไฟหมายเลข 72

9 ชั่วโมง 25 นาที คือเวลาโดยประมาณที่รถไฟด่วนขบวนหมายเลข 72 ออกเดินทางจากจังหวัดอุบลราชธานีถึงชานชาลาที่ 5 สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกว่า ‘สถานีหัวลำโพง’ พร้อมด้วยผู้โดยสารนับพันคนที่เดินทางพร้อมสัมภาระและของอุปโภคบริโภค รวมถึงถุงข้าวสาร กลับสู่ชีวิตการทำงานในเมืองหลวงในวันพรุ่งนี้   หลังการเดินทางกลับภูมิลำเนาและท่องเที่ยวต่างจังห...
1 มกราคม 2019

สถานีรถไฟกรุงเทพคึกคัก ประชาชนทยอยเดินทางกลับ เตรียมตัวทำงานตามปกติ

หลังเดินทางกลับภูมิลำเนาและท่องเที่ยวต่างจังหวัดเพื่อเฉลิมฉลองเทศกาลปีใหม่ วันนี้ (1 ม.ค.) มีประชาชนเดินทางด้วยรถไฟกลับมาถึงสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) กันอย่างหนาตา เพื่อเตรียมตัวทำงานวันแรกในวันพรุ่งนี้ โดยส่วนใหญ่มีการขนสัมภาระและสิ่งของต่างๆ รวมถึงของอุปโภคบริโภคมาด้วย   สำหรับมาตรการรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ มีเจ้าหน้าที่ตำรวจรถไฟค...
29 ธันวาคม 2018

ถนนทุกสายมุ่งออกจากหัวลำโพง

ในช่วงเวลาส่งท้ายปีเก่า คือวันที่สถานีรถไฟหัวลำโพงจะถูกเติมเต็มด้วยผู้คนที่มุ่งหน้าออกจากกรุงเทพมหานคร หลังจากทำงาน เรียน และใช้ชีวิตในมหานครแห่งนี้ตลอดปีที่ผ่านมา   เราจะพบเห็นนักท่องเที่ยว และประชาชนชาวไทยพร้อมกระเป๋าเดินทางมุ่งหน้าออกจากกรุงเทพมหานครเป็นครั้งสุดท้ายของปี 2018 เพื่อเดินทางไปใช้เวลาวันหยุด เดินทางกลับบ้าน หรือออกไปเที่...
11 เมษายน 2018

กลับบ้านเรา รักรออยู่

ประชาชนเริ่มทยอยเดินทางมายังสถานีขนส่งหมอชิต 2 และสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) เพื่อเดินทางกลับภูมิลำเนาไปเฉลิมฉลองเทศกาลสงกรานต์   บรรยากาศที่สถานีขนส่งกรุงเทพ (หมอชิต 2) เริ่มมีประชาชนเดินทางมาพร้อมสัมภาระกองโตเพื่อรอขึ้นรถตั้งแต่ช่วงเช้า ซึ่งปีนี้ บขส. ได้เพิ่มเที่ยวรถโดยสารอีก 2,000 เที่ยว จากที่มีวิ่งปกติ 6,000 เที่ยว รวม 8,000 เที่ย...

Close Advertising